ค่าดัชนีน้ำตาล (glycemic index, glycaemic index) หรือ GI เป็นหน่วยวัดผลของคาร์โบไฮเดรตต่อระดับน้ำตาลในเลือด คาร์โบไฮเดรตจะแตกตัวอย่างรวดเร็วในระหว่างการย่อยอาหาร ให้กลูโคสเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตอย่างรวดเร็ว เรียกว่ามีค่า GI สูง; คาร์โบไฮเดรตจะแตกตัวอย่างช้าๆ ค่อยๆให้กลูโคสเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตอย่างสม่ำเสมอ เรียกว่ามีค่า GI ต่ำ สำหรับคนส่วนมาก อาหารที่มีค่า GI ต่ำมีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างยิ่ง แนวคิดที่พัฒนาโดย ดร. เดวิด เจ. เจนคินส์ (David J. Jenkins) และผู้ร่วมงาน ในปี ค.ศ. 1980–1981 ที่มหาวิทยาลัยโทรอนโต ในงานวิจัยของเขาค้นพบว่าเป็นอาหารที่ดีที่สุดกับผู้ป่วยเบาหวาน
ค่าดัชนีน้ำตาลต่ำแสดงให้เห็นถึงอัตราการย่อยอาหารและดูดซึมคาร์โบไฮเดรตของอาหารที่ช้ากว่าและอาจแสดงถึงการสกัดสารจากตับและขอบนอกของผลิตภัณฑ์ของการย่อยคาร์โบไฮเดรตที่ดีกว่าอีกด้วย ดัชนีน้ำตาลที่ต่ำกว่ามีผลถึงความต้องการอินซูลินที่ต่ำกว่า (แต่ไม่เสมอไป) และอาจควบคุมกลูโคสและของเหลวในเลือดในระยะยาวได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าอาหารที่บริโภคร่วมกับอาหารชนิดอื่นในแต่ละมื้อ จะมีผลต่ออัตราการย่อยและทำให้ Gl ดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไปอาจสามารถใช้ได้ด้วยเหมือนกัน ซึ่งค่าดัชนีอินซูลินเป็นการวัดผลตอบสนองอินซูลินต่ออาหารที่รับประทานเข้าไป
ค่าดัชนีน้ำตาลของอาหารถูกกำหนดตามพื้นที่ใต้เส้นโค้งผลตอบสนองกลูโคสในเลือดในเวลาสองชั่วโมง(AUC) ตามการรับประทานส่วนของคาร์โบไฮเดรตที่กำหนด (ทั่วไป 50 ก.) AUC ของอาหารที่นำมาทดสอบจะถูกหารโดย AUC ของอาหารมาตรฐาน (ใช้กลูโคสหรือขนมปังขาวซึ่งผลที่ได้จะได้ค่าที่ต่างกัน) และคูณด้วย 100 ค่าเฉลี่ย GI ถูกคำนวณจากข้อมูลที่เก็บมาจากคน 10 คน ทั้งอาหารมาตรฐานและอาหารที่ทดสอบที่ใช้ต้องมีคาร์โบไฮเดรตเท่ากัน และผลที่ได้ก็จะให้ระดับที่สัมพันธ์กันในอาหารทดสอบแต่ละชนิด
วิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้ใช้กลูโคสเป็นอาหารอ้างอิง และให้กำหนดค่าดัชนีน้ำตาลของกลูโคสเป็น 100 เป็นการเริ่มต้นให้เป็นสากลที่ดีและทำให้ค่า GI สูงสุดมีค่าประมาณ 100 นอกจากนี้ ขนมปังขาวยังสามารถใช้เป็นอาหารอ้างอิงได้อีกด้วยแต่ให้ค่า GI ที่แตกต่างออกไป (ขนมปังขาว = 100, กลูโคส ? 140) สำหรับคนที่มีแหล่งคาร์โบไฮเดรตหลักเป็นขนมปังขาวซึ่งมีประโยชน์โดยตรงในการเปลี่ยนของการแทนที่ของอาหารหลักด้วยอาหารที่แตกต่างเป็นผลต่อผลตอบสนองกลูโคสในเลือดเร็วหรือช้ากว่า ข้อบกพร่องของระบบนี้คืออาหารอ้างอิงไม่ระบุไว้ชัดเจนและมาตราส่วน GI ขึ้นกับวัฒนธรรม
อ้างอิง
- DJ Jenkins et al. (1981). "Glycemic index of foods: a physiological basis for carbohydrate exchange." Am J Clin Nutr 34; 362-366
- ค่าดัชนีไกลเซมิก 2009-01-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน วิภา สุโรจนะเมธากุล, สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- Brouns et al. (2005). "Glycaemic index methodology." Nutrition Research Reviews 18; 145-171
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khadchninatal glycemic index glycaemic index hrux GI epnhnwywdphlkhxngkharobihedrttxradbnatalineluxd kharobihedrtcaaetktwxyangrwderwinrahwangkaryxyxahar ihkluokhsekhasurabbihlewiynolhitxyangrwderw eriykwamikha GI sung kharobihedrtcaaetktwxyangcha khxyihkluokhsekhasurabbihlewiynolhitxyangsmaesmx eriykwamikha GI ta sahrbkhnswnmak xaharthimikha GI tamipraoychntxsukhphaphxyangying aenwkhidthiphthnaody dr edwid ec ecnkhins David J Jenkins aelaphurwmngan inpi kh s 1980 1981 thimhawithyalyothrxnot innganwicykhxngekhakhnphbwaepnxaharthidithisudkbphupwyebahwan khadchninataltaaesdngihehnthungxtrakaryxyxaharaeladudsumkharobihedrtkhxngxaharthichakwaaelaxacaesdngthungkarskdsarcaktbaelakhxbnxkkhxngphlitphnthkhxngkaryxykharobihedrtthidikwaxikdwy dchninatalthitakwamiphlthungkhwamtxngkarxinsulinthitakwa aetimesmxip aelaxackhwbkhumkluokhsaelakhxngehlwineluxdinrayayawiddikhun nxkcakniyngphbwaxaharthibriophkhrwmkbxaharchnidxuninaetlamux camiphltxxtrakaryxyaelathaih Gl dngedimepliynaeplngipxacsamarthichiddwyehmuxnkn sungkhadchnixinsulinepnkarwdphltxbsnxngxinsulintxxaharthirbprathanekhaip phlkhxngkluokhsineluxd khadchninatalsungepriybethiybkbkhadchninatalta khadchninatalkhxngxaharthukkahndtamphunthiitesnokhngphltxbsnxngkluokhsineluxdinewlasxngchwomng AUC tamkarrbprathanswnkhxngkharobihedrtthikahnd thwip 50 k AUC khxngxaharthinamathdsxbcathukharody AUC khxngxaharmatrthan ichkluokhshruxkhnmpngkhawsungphlthiidcaidkhathitangkn aelakhundwy 100 khaechliy GI thukkhanwncakkhxmulthiekbmacakkhn 10 khn thngxaharmatrthanaelaxaharthithdsxbthiichtxngmikharobihedrtethakn aelaphlthiidkcaihradbthismphnthkninxaharthdsxbaetlachnid withithiichxyuinpccubn idichkluokhsepnxaharxangxing aelaihkahndkhadchninatalkhxngkluokhsepn 100 epnkarerimtnihepnsaklthidiaelathaihkha GI sungsudmikhapraman 100 nxkcakni khnmpngkhawyngsamarthichepnxaharxangxingidxikdwyaetihkha GI thiaetktangxxkip khnmpngkhaw 100 kluokhs 140 sahrbkhnthimiaehlngkharobihedrthlkepnkhnmpngkhawsungmipraoychnodytrnginkarepliynkhxngkaraethnthikhxngxaharhlkdwyxaharthiaetktangepnphltxphltxbsnxngkluokhsineluxderwhruxchakwa khxbkphrxngkhxngrabbnikhuxxaharxangxingimrabuiwchdecnaelamatraswn GI khunkbwthnthrrmxangxingDJ Jenkins et al 1981 Glycemic index of foods a physiological basis for carbohydrate exchange Am J Clin Nutr 34 362 366 khadchniiklesmik 2009 01 06 thi ewyaebkaemchchin wipha suorcnaemthakul sthabnkhnkhwaaelaphthnaphlitphnthxahar mhawithyalyekstrsastr Brouns et al 2005 Glycaemic index methodology Nutrition Research Reviews 18 145 171