บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
คาร์ล ไฮน์ริช มารีอา ออร์ฟ (เยอรมัน: Carl Heinrich Maria Orff) เป็นคีตกวีชาวเยอรมัน เกิดที่นครมิวนิก เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1895 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 1982 ที่นครมิวนิกเช่นกัน ออร์ฟเป็นหนึ่งในคีตกวีที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความสำเร็จของเขามีอิทธิพลอย่างมากในสาขาอีกด้วย เขาเป็นที่รู้จักจากผลงานประพันธ์เพลง คาร์มินา บูรานา ใน ค.ศ. 1937
ออร์ฟเชื่อว่าดนตรี การเคลื่อนไหว และคำพูด เป็นสิ่งที่แยกออกจากกันไม่ได้ ทั้งสามสิ่งรวมกันเป็นเอกภาพซึ่งออร์ฟเรียกว่า "ดนตรีเบื้องต้น" (elelmental music) คำว่า "ดนตรีเบื้องต้น" นี้ ออร์ฟหมายถึง การแสดงออกทางดนตรีของบุคคลที่เป็นไปโดยธรรมชาติ ออร์ฟได้สังเกตจากเด็กในสภาวะแวดล้อมปรกติไม่มีกฎเกณฑ์อะไรบังคับ เด็กจะใช้ดนตรี การเคลื่อนไหว และภาษาพูดไปพร้อมกัน เด็กที่กำลังเต้นรำจะร้องเพลงไปด้วย เมื่อเด็กร้องเพลงเขาก็มักจะเคลื่อนไหวไปตามจังหวะเสียงเพลง
ออร์ฟยอมรับทฤษฎีที่ว่า ประวัติศาสตร์ดนตรีย่อมแสดงตัวของมันอยู่ในพัฒนาการชีวิตของแต่ละคน เขาได้ย้อนกลับไปพิจารณาในยุคต้นของการก่อเกิดวัฒนธรรม ที่คนทั่วไปใช้ดนตรีเป็นสิ่งแสดงความรู้สึกของตนเองโดยไม่ต้องได้รับการฝึกฝน การเคลื่อนไหวและการพูด มักจะรวมอยู่ด้วยกันอย่างแยกไม่ออกกับดนตรีที่ใช้แสดงความรู้สึกเหล่านั้น ออร์ฟใช้กรณีของเด็กเล็กมาเปรียบเทียบกับคนป่าคนเถื่อนที่ไม่ได้รับการฝึกฝนดนตรีมาก่อน เขาเชื่อว่าการศึกษาดนตรีควรจะเริ่มด้วยความรู้ที่ง่าย ๆ จากเพลงง่าย ๆ และพัฒนาขึ้นไปสู่ดนตรีที่ซับซ้อนหรือบทเพลงที่ยากขึ้น ด้ วยข้อสรุปนี้ ออร์ฟได้วางแผนการศึกษาที่เป็นขั้น ๆ ต่อเนื่องกันโดยมีโครงสร้างเริ่มจากสิ่งที่ง่ายที่สุด แล้วสอนเพิ่มเติมไปสู่สิ่งที่ซับซ้อนที่สุด แผนการศึกษาของออร์ฟเช่นนี้ได้รับการยอมรับเป็นอย่างสูง ออร์ฟเรียกแนวคิดในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของเขาว่า "ชูลแวร์ค" (Schulwerk)
ชูลแวร์คของออร์ฟนั้น เขากล่าวว่าควรเริ่มต้นใช้กับเด็กวัยต้น ๆ และควรใช้ประสบการณ์ของตัวเด็กเองเป็นสื่อการสอนดนตรี เช่น ชื่อของเด็ก คำง่าย ๆ ที่คุ้นเคย เป็นต้น ออร์ฟเห็นว่าจังหวะเป็นส่วนประกอบสำคัญที่สุดของดนตรี (Rhythm is strongest of the elements of music) การแสดงออกของมนุษย์ที่เป็นธรรมชาติที่สุดและสามัญที่สุดคือการใช้จังหวะ เขาได้สอนความคิดเรื่องจังหวะโดยผ่านคำพูดและการเคลื่อนไหว ออร์ฟมีความคิดเช่นเดียวกันดาลโครซ ที่ว่าการเรียนเครื่องดนตรีต่าง ๆ นั้น ควรจะตามหลังพัฒนาการของทักษะพื้นฐานที่จำเป็นทางดนตรี อันได้แก่
- การฟัง
- การคุ้นเคยจนจำขั้นคู่ของทำนองเพลง และการร้องทำนองเพลง (melodic interval)
- การคุ้นเคยจนจำและการปฏิบัติแบบแผนของจังหวะ (rhythmic patterns)
ดนตรีเบื้องต้นตามแนวคิดของออร์ฟ
ดนตรีเบื้องต้นตามแนวคิดของออร์ฟ ตั้งอยู่บนรากฐานของการปฏิบัติการสื่อสารในเด็ก (communicative performance) และเน้นความเป็นตัวของตัวเองเป็นอย่างมาก อุปกรณ์เพลงต่าง ๆ ได้มาจากความคิดของเด็กเอง โดยมีบทเพลงของชูลแวร์คซึ่งมีรูปแบบของทำนองและจังหวะ ที่ถูกออกแบบอย่างดีเป็นตัวอย่างเพลงของเด็ก ซึ่งเรียบง่ายถูกกับจริตของเด็ก เป็นธรรมชาติ และมีการใช้ร่างกายประกอบเหมือนการเล่นของเด็ก ดนตรีเบื้องต้นของออร์ฟได้รับการพัฒนามาจากข้อสรุปที่ว่า เด็กจะเป็นผู้แสดงถึงพัฒนาการทางดนตรีของมนุษยชาติ จากประสบการณ์และพัฒนาการทางดนตรีของเด็กเอง ประสบการณ์ดนตรีของเด็กจะเรียบง่าย เช่น การกู่ร้อง การท่องบทร้องเล่น การกระทืบเท้า และตบมือ ในดนตรีเบื้องต้นนั้น การพูด การร้องเพลง และการเคลื่อนไหวไม่สามารถแยกออกจากกัน แต่จะหลอมรวมกัน เหมือนกับการแสดงออกทางดนตรีโดยธรรมชาติอันแท้จริงนั่นเอง
ในระบบการสอนของออร์ฟ การสร้างสรรค์ (creativity) ถือเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ออร์ฟเปิดโอกาสให้มีการสร้างสรรค์แบบต่อเนื่องหลายแบบ เด็กจะสำรวจเสียงของคำ ทำนองเพลง และเสียงเครื่องดนตรี เขาจะเลือกแบบแผนของจังหวะและทำนองจากตัวอย่าง และใช้มันประดิษฐ์ดนตรีประกอบ บทขึ้นต้น บทจบ หรือบางทีเขาอาจจะแต่งทั้งเพลงเลยก็ได้ กิจกรรมการสอนขั้นต้นก็เหมือนการเล่นเกมประกอบดนตรี ครูจะต้องคอยช่วยนักเรียนในการจดโน้ตที่เด็กคิดแต่งขึ้น วิจารณ์และช่วยปรับปรุงเพลงนั้น พร้อมทั้งสอดแทรกความรู้
อ้างอิง
- การเรียนการสอนตามแนวคิดคาร์ล ออร์ฟ (รวบรวมจากธวัชชัย นาควงศ์ และกรองทอง บุญประคอง โดย Suthichart Boonyatup ป.โท รุ่น 3 บ้านสมเด็จ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng kharl ihnrich marixa xxrf eyxrmn Carl Heinrich Maria Orff epnkhitkwichaweyxrmn ekidthinkhrmiwnik emuxwnthi 10 krkdakhm kh s 1895 esiychiwitemuxwnthi 29 minakhm kh s 1982 thinkhrmiwnikechnkn xxrfepnhnunginkhitkwithimichuxesiyngmakthisudinkhriststwrrsthi 20 khwamsaerckhxngekhamixiththiphlxyangmakinsakhaxikdwy ekhaepnthiruckcakphlnganpraphnthephlng kharmina burana in kh s 1937kharl xxrf kbliesxlxthethx hxlthsimsethxr in kh s 1956 xxrfechuxwadntri karekhluxnihw aelakhaphud epnsingthiaeykxxkcakknimid thngsamsingrwmknepnexkphaphsungxxrferiykwa dntriebuxngtn elelmental music khawa dntriebuxngtn ni xxrfhmaythung karaesdngxxkthangdntrikhxngbukhkhlthiepnipodythrrmchati xxrfidsngektcakedkinsphawaaewdlxmprktiimmikdeknthxairbngkhb edkcaichdntri karekhluxnihw aelaphasaphudipphrxmkn edkthikalngetnracarxngephlngipdwy emuxedkrxngephlngekhakmkcaekhluxnihwiptamcnghwaesiyngephlng xxrfyxmrbthvsdithiwa prawtisastrdntriyxmaesdngtwkhxngmnxyuinphthnakarchiwitkhxngaetlakhn ekhaidyxnklbipphicarnainyukhtnkhxngkarkxekidwthnthrrm thikhnthwipichdntriepnsingaesdngkhwamrusukkhxngtnexngodyimtxngidrbkarfukfn karekhluxnihwaelakarphud mkcarwmxyudwyknxyangaeykimxxkkbdntrithiichaesdngkhwamrusukehlann xxrfichkrnikhxngedkelkmaepriybethiybkbkhnpakhnethuxnthiimidrbkarfukfndntrimakxn ekhaechuxwakarsuksadntrikhwrcaerimdwykhwamruthingay cakephlngngay aelaphthnakhunipsudntrithisbsxnhruxbthephlngthiyakkhun d wykhxsrupni xxrfidwangaephnkarsuksathiepnkhn txenuxngknodymiokhrngsrangerimcaksingthingaythisud aelwsxnephimetimipsusingthisbsxnthisud aephnkarsuksakhxngxxrfechnniidrbkaryxmrbepnxyangsung xxrferiykaenwkhidinkarcdkickrrmkareriynkarsxnkhxngekhawa chulaewrkh Schulwerk chulaewrkhkhxngxxrfnn ekhaklawwakhwrerimtnichkbedkwytn aelakhwrichprasbkarnkhxngtwedkexngepnsuxkarsxndntri echn chuxkhxngedk khangay thikhunekhy epntn xxrfehnwacnghwaepnswnprakxbsakhythisudkhxngdntri Rhythm is strongest of the elements of music karaesdngxxkkhxngmnusythiepnthrrmchatithisudaelasamythisudkhuxkarichcnghwa ekhaidsxnkhwamkhideruxngcnghwaodyphankhaphudaelakarekhluxnihw xxrfmikhwamkhidechnediywkndalokhrs thiwakareriynekhruxngdntritang nn khwrcatamhlngphthnakarkhxngthksaphunthanthicaepnthangdntri xnidaek karfng karkhunekhycncakhnkhukhxngthanxngephlng aelakarrxngthanxngephlng melodic interval karkhunekhycncaaelakarptibtiaebbaephnkhxngcnghwa rhythmic patterns dntriebuxngtntamaenwkhidkhxngxxrfdntriebuxngtntamaenwkhidkhxngxxrf tngxyubnrakthankhxngkarptibtikarsuxsarinedk communicative performance aelaennkhwamepntwkhxngtwexngepnxyangmak xupkrnephlngtang idmacakkhwamkhidkhxngedkexng odymibthephlngkhxngchulaewrkhsungmirupaebbkhxngthanxngaelacnghwa thithukxxkaebbxyangdiepntwxyangephlngkhxngedk sungeriybngaythukkbcritkhxngedk epnthrrmchati aelamikarichrangkayprakxbehmuxnkarelnkhxngedk dntriebuxngtnkhxngxxrfidrbkarphthnamacakkhxsrupthiwa edkcaepnphuaesdngthungphthnakarthangdntrikhxngmnusychati cakprasbkarnaelaphthnakarthangdntrikhxngedkexng prasbkarndntrikhxngedkcaeriybngay echn karkurxng karthxngbthrxngeln karkrathubetha aelatbmux indntriebuxngtnnn karphud karrxngephlng aelakarekhluxnihwimsamarthaeykxxkcakkn aetcahlxmrwmkn ehmuxnkbkaraesdngxxkthangdntriodythrrmchatixnaethcringnnexng inrabbkarsxnkhxngxxrf karsrangsrrkh creativity thuxepnsingsakhythisud xxrfepidoxkasihmikarsrangsrrkhaebbtxenuxnghlayaebb edkcasarwcesiyngkhxngkha thanxngephlng aelaesiyngekhruxngdntri ekhacaeluxkaebbaephnkhxngcnghwaaelathanxngcaktwxyang aelaichmnpradisthdntriprakxb bthkhuntn bthcb hruxbangthiekhaxaccaaetngthngephlngelykid kickrrmkarsxnkhntnkehmuxnkarelnekmprakxbdntri khrucatxngkhxychwynkeriyninkarcdontthiedkkhidaetngkhun wicarnaelachwyprbprungephlngnn phrxmthngsxdaethrkkhwamruxangxingkareriynkarsxntamaenwkhidkharl xxrf rwbrwmcakthwchchy nakhwngs aelakrxngthxng buyprakhxng ody Suthichart Boonyatup p oth run 3 bansmedc