ความฉลาดทางการเงิน เป็นประเภทของระบบธุรกิจอัจฉริยะที่ประกอบด้วยความรู้และทักษะที่ได้รับจากการทำความเข้าใจหลักการทางการเงินและการบัญชีในโลกธุรกิจและการทำความเข้าใจวิธีการใช้เงิน แม้ว่าจะเป็นศัพท์ใหม่ แต่ความฉลาดทางการเงินมีรากฐานในการวิจัย ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในการมีส่วนร่วมของพนักงาน ความฉลาดทางการเงินกลายเป็นและในหลาย ๆ องค์กรที่นำไปสู่ผลลัพธ์ทางการเงินที่ดีขึ้น, การเพิ่มขวัญกำลังใจของพนักงาน และการลดการหมุนเวียนพนักงาน หลายองค์กรรวมถึงโปรแกรมความฉลาดทางการเงินในหลักสูตรการพัฒนาความเป็นผู้นำ ความฉลาดทางการเงินไม่ใช่ทักษะโดยธรรมชาติ แต่ค่อนข้างเป็นชุดของทักษะการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาได้ในทุกระดับ
สาขาวิชาของความเข้าใจ
ความเข้าใจทั้งสี่ด้าน ที่ประกอบกันเป็นอัจฉริยะทางการเงิน คือ:
เข้าใจรากฐาน ความฉลาดทางการเงินต้องมีความเข้าใจพื้นฐานของการวัดทางการเงินรวมถึงงบกำไรขาดทุน, งบดุล และงบกระแสเงินสด นอกจากนี้ยังต้องทราบความแตกต่างระหว่างเงินสด และ ตลอดจนทำไมงบดุลจึงทำให้เท่ากัน
เข้าใจศิลปะ การเงินและการบัญชีเป็นศิลปะเช่นเดียวกับวิทยาศาสตร์ ทั้งสองสาขาวิชาต้องพยายามหาปริมาณสิ่งที่ไม่สามารถหาปริมาณได้เสมอ ดังนั้นจึงต้องอาศัยกฎการประมาณและข้อสมมติฐาน ความฉลาดทางการเงินสร้างความมั่นใจให้ผู้คนสามารถแยกแยะได้ว่ามีการนำศิลปะด้านการเงินมาใช้กับตัวเลขใดบ้าง รวมถึงรู้วิธีการปรับใช้ต่างกันอย่างไรโดยอาจนำไปสู่ข้อสรุปที่แตกต่างกัน
เข้าใจการวิเคราะห์ ข้อมูลทางการเงินรวมถึงความสามารถในการวิเคราะห์ตัวเลขในเชิงลึก ซึ่งรวมถึงความสามารถในการคำนวณผลกำไร, พลังทวี, สภาพคล่อง และความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนทำความเข้าใจความหมายของผลลัพธ์ การดำเนินการวิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุนและการตีความผลลัพธ์เป็นส่วนหนึ่งของความฉลาดทางการเงิน
เข้าใจภาพรวมขนาดใหญ่ ความฉลาดทางการเงินยังหมายถึงความสามารถในการเข้าใจผลลัพธ์ทางการเงินของธุรกิจในบริบท - นั่นคือภายในกรอบของภาพรวม ปัจจัยต่าง ๆ เช่น เศรษฐกิจ, สภาพแวดล้อมการแข่งขัน, กฎระเบียบ และการเปลี่ยนแปลงความต้องการตลอดจนความคาดหวังของลูกค้า รวมถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ ล้วนมีผลต่อการตีความตัวเลข
ความฉลาดทางการเงินไม่ได้เป็นเพียงการเรียนรู้ทางทฤษฎีเท่านั้น นอกจากนี้ยังต้องมีการฝึกฝนและใช้ให้เป็นประโยชน์ในโลกแห่งความจริง ในโลกบรรษัท ผู้จัดการสามารถแสดงข้อมูลทางการเงินโดยการพูดภาษา นั่นคือ การถามคำถามเกี่ยวกับตัวเลขเมื่อบางสิ่งไม่สมเหตุสมผล, ตรวจสอบรายงานทางการเงินรวมทั้งการใช้ข้อมูลเพื่อทำความเข้าใจจุดแข็งและจุดอ่อนของบริษัท, การใช้การวิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุน, และเพื่อการตัดสินใจ ตลอดจนระบุตำแหน่งที่นำศิลปะทางการเงินมาใช้ประโยชน์ได้
อ้างอิง
- Lawler, E.E. III (1985). "Education, Management Style, and Organizational Effectiveness". Personnel Psychology. 38 (1): 1–26. doi:10.1111/j.1744-6570.1985.tb00538.x.
- Lawler, E.E. III (1986). High Involvement Management. Jossey-Bass:San Francisco.
- Berman, K., Knight, J., Case, J., (2006). Financial Intelligence: A Managers Guide to Knowing What the Numbers Really Mean. Massachusetts: Harvard Business School Press.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamchladthangkarengin epnpraephthkhxngrabbthurkicxcchriyathiprakxbdwykhwamruaelathksathiidrbcakkarthakhwamekhaichlkkarthangkarenginaelakarbychiinolkthurkicaelakarthakhwamekhaicwithikarichengin aemwacaepnsphthihm aetkhwamchladthangkarenginmirakthaninkarwicy sungswnihyxyuinkarmiswnrwmkhxngphnkngan khwamchladthangkarenginklayepnaelainhlay xngkhkrthinaipsuphllphththangkarenginthidikhun karephimkhwykalngickhxngphnkngan aelakarldkarhmunewiynphnkngan hlayxngkhkrrwmthungopraekrmkhwamchladthangkarengininhlksutrkarphthnakhwamepnphuna khwamchladthangkarenginimichthksaodythrrmchati aetkhxnkhangepnchudkhxngthksakareriynruthisamarthphthnaidinthukradbsakhawichakhxngkhwamekhaickhwamekhaicthngsidan thiprakxbknepnxcchriyathangkarengin khux ekhaicrakthan khwamchladthangkarengintxngmikhwamekhaicphunthankhxngkarwdthangkarenginrwmthungngbkairkhadthun ngbdul aelangbkraaesenginsd nxkcakniyngtxngthrabkhwamaetktangrahwangenginsd aela tlxdcnthaimngbdulcungthaihethakn ekhaicsilpa karenginaelakarbychiepnsilpaechnediywkbwithyasastr thngsxngsakhawichatxngphyayamhaprimansingthiimsamarthhaprimanidesmx dngnncungtxngxasykdkarpramanaelakhxsmmtithan khwamchladthangkarenginsrangkhwammnicihphukhnsamarthaeykaeyaidwamikarnasilpadankarenginmaichkbtwelkhidbang rwmthungruwithikarprbichtangknxyangirodyxacnaipsukhxsrupthiaetktangkn ekhaickarwiekhraah khxmulthangkarenginrwmthungkhwamsamarthinkarwiekhraahtwelkhinechingluk sungrwmthungkhwamsamarthinkarkhanwnphlkair phlngthwi sphaphkhlxng aelakhwamsamarthinkardaeninngan tlxdcnthakhwamekhaickhwamhmaykhxngphllphth kardaeninkarwiekhraahphltxbaethncakkarlngthunaelakartikhwamphllphthepnswnhnungkhxngkhwamchladthangkarengin ekhaicphaphrwmkhnadihy khwamchladthangkarenginynghmaythungkhwamsamarthinkarekhaicphllphththangkarenginkhxngthurkicinbribth nnkhuxphayinkrxbkhxngphaphrwm pccytang echn esrsthkic sphaphaewdlxmkaraekhngkhn kdraebiyb aelakarepliynaeplngkhwamtxngkartlxdcnkhwamkhadhwngkhxnglukkha rwmthungethkhonolyiihm lwnmiphltxkartikhwamtwelkh khwamchladthangkarenginimidepnephiyngkareriynruthangthvsdiethann nxkcakniyngtxngmikarfukfnaelaichihepnpraoychninolkaehngkhwamcring inolkbrrsth phucdkarsamarthaesdngkhxmulthangkarenginodykarphudphasa nnkhux karthamkhathamekiywkbtwelkhemuxbangsingimsmehtusmphl trwcsxbraynganthangkarenginrwmthngkarichkhxmulephuxthakhwamekhaiccudaekhngaelacudxxnkhxngbristh karichkarwiekhraahphltxbaethncakkarlngthun aelaephuxkartdsinic tlxdcnrabutaaehnngthinasilpathangkarenginmaichpraoychnidxangxingLawler E E III 1985 Education Management Style and Organizational Effectiveness Personnel Psychology 38 1 1 26 doi 10 1111 j 1744 6570 1985 tb00538 x Lawler E E III 1986 High Involvement Management Jossey Bass San Francisco Berman K Knight J Case J 2006 Financial Intelligence A Managers Guide to Knowing What the Numbers Really Mean Massachusetts Harvard Business School Press aehlngkhxmulxunhttp www marshall usc edu ceo 2011 01 14 thi ewyaebkaemchchin http www hbs edu http www wharton upenn edu http www gsb stanford edu