คดีเรนโบว์วอร์ริเออร์ (อังกฤษ: Rainbow Warrior Case) เป็นข้อพิพาทระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับประเทศฝรั่งเศสที่เป็นผลพวงมาจากการจมเรือ เรนโบว์วอร์ริเออร์ คดีนี้ได้ (Javier Pérez de Cuéllar) เลขาธิการสหประชาชาติ มาเป็นอนุญาโตตุลาการในปี ค.ศ. 1986 และกลายเป็นหัวข้อสำคัญในการศึกษาเรื่องในกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
ภูมิหลัง
วันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1985 (French military security service) ส่งจารชนไปจมเรือของกรีนพีซอันขึ้นทะเบียนในประเทศอังกฤษ ชื่อ เรนโบว์วอร์ริเออร์ ขณะเทียบ กรีนพีซเตรียมใช้เรือลำดังกล่าวเดินทางไปขัดขวางที่เฟรนช์โปลินีเซีย ต่อมา ประเทศนิวซีแลนด์จับและดำเนินคดีสมาชิกสองคนของกองทหารลับของประเทศฝรั่งเศส
ผลทางคดีความ
หลังจากประเทศฝรั่งเศสและประเทศนิวซีแลนด์ประจันหน้าทางการทูตกันพักใหญ่ โดยมีประเด็นเบื้องต้นเป็นการเรียกค่าปฏิกรรมและการปฏิบัติต่อจารชนที่ถูกจับ รัฐบาลของทั้งสองประเทศก็ตกลงจะให้คาเบียร์ เปเรซ เด กูเอยาร์ เลขาธิการสหประชาชาติ มาเป็นอนุญาโตตุลาการชำระความของพวกตน กูเอยาร์มีคำสั่งซึ่งมีผลผูกพันในวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1986
คดีความ
แม้ว่าอรรถคดีของรัฐฝรั่งเศสจะไม่นับเป็นภัยคุกคามต่อ "ความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงระหว่างประเทศ" ตามความในกฎบัตรสหประชาชาติ เพราะมีเป้าหมายและผลกระทบอันจำกัด แต่ก็ถือว่าเป็นการกระทำละเมิดในระดับระหว่างประเทศ เพราะประกอบด้วยการละเมิดอำนาจอธิปไตยและการจารกรรม (ถึงแม้ว่าการจารกรรมจะไม่อยู่ในบังคับแห่งกฎหมายระหว่างประเทศก็ตาม) ประเทศฝรั่งเศสได้มีบันทึกถึงเลขาธิการสหประชาชาติเพื่อโต้แย้งว่า กรีนพีซต่างหากที่กระทำการอันเป็นปรปักษ์ต่อและล่วงล้ำเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมายซึ่งดินแดนฝรั่งเศสรอบ ๆ ถิ่วแถวทดลองนิวเคลียร์ และประเทศนิวซีแลนด์ก็สนับสนุนการกระทำนี้อยู่เบื้องหลัง อนุญาโตตุลาการยกข้อโต้แย้งเหล่านี้ เพราะการกระทำของกรีนพีซไม่อาจจัดว่าเป็นการใช้กำลังตามกฎหมายระหว่างประเทศได้เลย
ความรับผิดของรัฐ
ตามปรกติ เมื่อรัฐหนึ่งส่งตัวแทนของตนไปกระทำผิดกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายท้องถิ่น ณ รัฐอื่น ก็ตกเป็นพนักงานของรัฐแรกนั้นที่จะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำและใช้ค่าปฏิกรรม และตัวแทนของรัฐเช่นว่านี้จะได้รับความคุ้มกันไม่ต้องขึ้นศาลท้องถิ่น กระนั้น ประเทศนิวซีแลนด์ก็เรียกให้ประเทศฝรั่งเศสออกมาหักหาญกันตามกฎหมายระหว่างประเทศ และจัดการไต่สวนจารชนฝรั่งเศสด้วยกฎหมายภายในของตนด้วย ตามกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศแล้ว ประเทศนิวซีแลนด์จะไต่สวนเช่นนี้ได้หรือไม่ ยังไม่แน่ชัด แต่ตามลักษณะในการจารกรรมของประเทศฝรั่งเศสแล้ว ประเทศนิวซีแลนด์ชอบจะไต่สวนจารชนทั้งสองคนในฐานะที่เป็นเชลย แม้ขณะนั้นไม่มีภาวะสงครามก็ตาม อย่างไรก็ดี เชลยทั้งคู่จะได้รับสิทธิที่เกี่ยวข้องติดตามมาเพราะการนี้ กล่าวคือ ไม่ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว แต่ความรับผิดจะตกอยู่แก่ประเทศฝรั่งเศสซึ่งใช้พวกเขามาปฏิบัติหน้าที่ คดีในลักษณะเดียวกันนี้ เป็นต้นว่า (Caroline affair) ที่มีการวินิจฉัยเรื่องความรับผิดชอบของรัฐกับความรับผิดชอบของตัวแทนของรัฐ
คำสั่ง
ประเทศฝรั่งเศสยอมรับผิดชอบ แต่ขอให้คนของตนได้กลับประเทศ ประเทศนิวซีแลนด์ตกลง แต่มีเงื่อนไขว่า จารชนทั้งสองคนของประเทศฝรั่งเศสต้องรับโทษที่เหลือ คือ จำคุกอีกสามปี ตามคำพิพากษาของศาลนิวซีแลนด์จนเสร็จก่อน เลขาธิการสหประชาชาติเข้ามาไกล่เกลี่ย จารชนทั้งคู่จึงถูกจำไว้ที่เกาะ (Hao) อันเป็นดินแดนฝรั่งเศสและเป็นที่ตั้งฐานทัพเรือฝรั่งเศส หลังจากติดคุกที่เกาะดังกล่าวแล้วสองปี ประเทศฝรั่งเศสปล่อยคนทั้งสองและให้กลับแผ่นดินใหญ่ได้เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1988
ส่วนเรื่องชดใช้ความเสียหายนั้น เบื้องต้น ประเทศฝรั่งเศสมีคำขอโทษอย่างเป็นทางการและยอมรับว่าตนทำละเมิดตามกฎหมายระหว่างประเทศ และเลขาธิการสหประชาชาติสั่งให้ประเทศฝรั่งเศสใช้ค่าปฏิกรรมจำนวนเจ็ดล้านดอลลาร์สหรัฐแก่ประเทศนิวซีแลนด์ นอกจากนี้ ประเทศฝรั่งเศสยังใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ครอบครัวผู้เสียหายจากการจมเรือและแก่กรีนพีซเป็นการส่วนตัวด้วย
ผลที่ตามมา
คดีนี้ชี้ให้ชาติทั้งหลายเห็นว่า หลักกฎหมายระหว่างประเทศเรื่องการไม่ก้าวก่ายกันนั้นมีอยู่ และว่า รัฐทั้งหลายจักต้องรับผิดเมื่อละเมิดหลักกฎหมายนี้ คดีดังกล่าวยังได้เป็นหัวข้อที่นิยมศึกษากันเกี่ยวกับความรับผิดชอบของรัฐ ความรับผิดชอบของเอกชน การใช้กำลัง และการชดใช้ความเสียหาย แต่เพราะมีข้อเท็จจริงว่า คดีได้รับการชำระโดยคนคนเดียว คือ เลขาธิการสหประชาชาติ ไม่ใช่คณะตุลาการระหว่างประเทศ บางคนจึงไม่ค่อยถือว่าเป็นเรื่องของกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนสาเหตุที่ไม่ได้ชำระโดยคณะตุลาการระหว่างประเทศนั้น ก็ด้วยประเทศนิวซีแลนด์มิอาจมีคำขอไปยังศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้ เพราะสมัยนั้น (จนถึงบัดนี้) ประเทศฝรั่งเศสไม่ยอมรับว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมีอำนาจบังคับคดี
วัฒนธรรมร่วมสมัย
ในปี ค.ศ. 1992 ประเทศนิวซีแลนด์สร้างและฉายภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่อง (The Rainbow Warrior) จากคดีนี้ นำแสดงโดยแซม นีลล์ (Sam Neill) และ จอน วอยต์ (Jon Voight)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ 14 March 2011.
- The Sam Neill Home Page
- Michael Pugh: "Legal Aspects of the Rainbow Warrior Affair", The International and Comparative Law Quarterly, Vol. 36, No. 3. (Jul., 1987), pp. 655–669 , link
- Rainbow Warrior (NEW ZEALAND v. FRANCE) France-New Zealand Arbitration Tribunal. 30 April 1990 2009-12-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha khdiernobwwxrriexxr xngkvs Rainbow Warrior Case epnkhxphiphathrahwangpraethsniwsiaelndkbpraethsfrngessthiepnphlphwngmacakkarcmerux ernobwwxrriexxr khdiniid Javier Perez de Cuellar elkhathikarshprachachati maepnxnuyaottulakarinpi kh s 1986 aelaklayepnhwkhxsakhyinkarsuksaeruxnginkdhmayrahwangpraethsaephnkkhdiemuxngphumihlngwnthi 10 krkdakhm kh s 1985 French military security service sngcarchnipcmeruxkhxngkrinphisxnkhunthaebiyninpraethsxngkvs chux ernobwwxrriexxr khnaethiyb krinphisetriymicheruxladngklawedinthangipkhdkhwangthiefrnchopliniesiy txma praethsniwsiaelndcbaeladaeninkhdismachiksxngkhnkhxngkxngthharlbkhxngpraethsfrngessphlthangkhdikhwamhlngcakpraethsfrngessaelapraethsniwsiaelndpracnhnathangkarthutknphkihy odymipraednebuxngtnepnkareriykkhaptikrrmaelakarptibtitxcarchnthithukcb rthbalkhxngthngsxngpraethsktklngcaihkhaebiyr epers ed kuexyar elkhathikarshprachachati maepnxnuyaottulakarcharakhwamkhxngphwktn kuexyarmikhasngsungmiphlphukphninwnthi 6 krkdakhm kh s 1986khdikhwamaemwaxrrthkhdikhxngrthfrngesscaimnbepnphykhukkhamtx khwamsngberiybrxyaelakhwammnkhngrahwangpraeths tamkhwaminkdbtrshprachachati ephraamiepahmayaelaphlkrathbxncakd aetkthuxwaepnkarkrathalaemidinradbrahwangpraeths ephraaprakxbdwykarlaemidxanacxthipityaelakarcarkrrm thungaemwakarcarkrrmcaimxyuinbngkhbaehngkdhmayrahwangpraethsktam praethsfrngessidmibnthukthungelkhathikarshprachachatiephuxotaeyngwa krinphistanghakthikrathakarxnepnprpkstxaelalwnglaekhamaodymichxbdwykdhmaysungdinaednfrngessrxb thiwaethwthdlxngniwekhliyr aelapraethsniwsiaelndksnbsnunkarkrathanixyuebuxnghlng xnuyaottulakarykkhxotaeyngehlani ephraakarkrathakhxngkrinphisimxaccdwaepnkarichkalngtamkdhmayrahwangpraethsidely khwamrbphidkhxngrth tamprkti emuxrthhnungsngtwaethnkhxngtnipkrathaphidkdhmayrahwangpraethshruxkdhmaythxngthin n rthxun ktkepnphnkngankhxngrthaerknnthicatxngrbphidchxbtxkarkrathaaelaichkhaptikrrm aelatwaethnkhxngrthechnwanicaidrbkhwamkhumknimtxngkhunsalthxngthin krann praethsniwsiaelndkeriykihpraethsfrngessxxkmahkhaykntamkdhmayrahwangpraeths aelacdkaritswncarchnfrngessdwykdhmayphayinkhxngtndwy tamkdhmaycaritpraephnirahwangpraethsaelw praethsniwsiaelndcaitswnechnniidhruxim yngimaenchd aettamlksnainkarcarkrrmkhxngpraethsfrngessaelw praethsniwsiaelndchxbcaitswncarchnthngsxngkhninthanathiepnechly aemkhnannimmiphawasngkhramktam xyangirkdi echlythngkhucaidrbsiththithiekiywkhxngtidtammaephraakarni klawkhux imtxngrbphidepnkarswntw aetkhwamrbphidcatkxyuaekpraethsfrngesssungichphwkekhamaptibtihnathi khdiinlksnaediywknni epntnwa Caroline affair thimikarwinicchyeruxngkhwamrbphidchxbkhxngrthkbkhwamrbphidchxbkhxngtwaethnkhxngrth khasng praethsfrngessyxmrbphidchxb aetkhxihkhnkhxngtnidklbpraeths praethsniwsiaelndtklng aetmienguxnikhwa carchnthngsxngkhnkhxngpraethsfrngesstxngrbothsthiehlux khux cakhukxiksampi tamkhaphiphaksakhxngsalniwsiaelndcnesrckxn elkhathikarshprachachatiekhamaiklekliy carchnthngkhucungthukcaiwthiekaa Hao xnepndinaednfrngessaelaepnthitngthanthpheruxfrngess hlngcaktidkhukthiekaadngklawaelwsxngpi praethsfrngessplxykhnthngsxngaelaihklbaephndinihyidemuxeduxnphvsphakhm kh s 1988 swneruxngchdichkhwamesiyhaynn ebuxngtn praethsfrngessmikhakhxothsxyangepnthangkaraelayxmrbwatnthalaemidtamkdhmayrahwangpraeths aelaelkhathikarshprachachatisngihpraethsfrngessichkhaptikrrmcanwnecdlandxllarshrthaekpraethsniwsiaelnd nxkcakni praethsfrngessyngichkhasinihmthdaethnihaekkhrxbkhrwphuesiyhaycakkarcmeruxaelaaekkrinphisepnkarswntwdwyphlthitammakhdinichiihchatithnghlayehnwa hlkkdhmayrahwangpraethseruxngkarimkawkayknnnmixyu aelawa rththnghlaycktxngrbphidemuxlaemidhlkkdhmayni khdidngklawyngidepnhwkhxthiniymsuksaknekiywkbkhwamrbphidchxbkhxngrth khwamrbphidchxbkhxngexkchn karichkalng aelakarchdichkhwamesiyhay aetephraamikhxethccringwa khdiidrbkarcharaodykhnkhnediyw khux elkhathikarshprachachati imichkhnatulakarrahwangpraeths bangkhncungimkhxythuxwaepneruxngkhxngkdhmayrahwangpraeths swnsaehtuthiimidcharaodykhnatulakarrahwangpraethsnn kdwypraethsniwsiaelndmixacmikhakhxipyngsalyutithrrmrahwangpraethsid ephraasmynn cnthungbdni praethsfrngessimyxmrbwa salyutithrrmrahwangpraethsmixanacbngkhbkhdiwthnthrrmrwmsmyinpi kh s 1992 praethsniwsiaelndsrangaelachayphaphyntrothrthsneruxng The Rainbow Warrior cakkhdini naaesdngodyaesm nill Sam Neill aela cxn wxyt Jon Voight duephimernobwwxrriexxr karcmeruxernobwwxrriexxrxangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 06 29 subkhnemux 14 March 2011 The Sam Neill Home Page Michael Pugh Legal Aspects of the Rainbow Warrior Affair The International and Comparative Law Quarterly Vol 36 No 3 Jul 1987 pp 655 669 link Rainbow Warrior NEW ZEALAND v FRANCE France New Zealand Arbitration Tribunal 30 April 1990 2009 12 29 thi ewyaebkaemchchin