ขีดจำกัดการเลี้ยวเบน (diffraction limit) คือขีดจำกัดทางทฤษฎีของความละเอียดเชิงแสง อันมาจากปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนของแสงภายในระบบเชิงแสง เช่น กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์ และ กล้องถ่ายภาพ
เนื่องจากขีดจำกัดการเลี้ยวเบนเกิดจากการที่ความยาวคลื่นของแสงยาวเพียงพอ เมื่อเทียบกับความแม่นยำที่จำเป็นในการจำแนกวัตถุ เพื่อที่จะให้ได้ความละเอียดเชิงแสงมากขึ้นจึงอาจใช้คลื่นที่มีความยาวคลื่นสั้น (เช่น รังสีแคโทด) สำหรับการสังเกต
ภาพรวม
โดยทั่วไป ความละเอียดเชิงแสงของระบบการสร้างภาพด้วยแสง เช่น กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์ และ กล้องถ่ายภาพ ถูกควบคุมโดยปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความไม่สมบูรณ์ของเลนส์และความคลาดทางทัศนศาสตร์ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะสามารถสร้างระบบเชิงแสงที่มีความเที่ยงตรงที่สมบูรณ์แบบได้ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะได้ความละเอียดเชิงแสงมากเท่าใดก็ได้ โดยจะมีข้อจำกัดในความละเอียดเชิงแสงเนื่องจากการเลี้ยวเบนของแสง ขีดจำกัดนี้เรียกว่า ขีดจำกัดการเลี้ยวเบน
ความละเอียดเชิงแสงที่จำกัดการเลี้ยวเบนของกล้องโทรทรรศน์จะแปรตามความยาวคลื่นของแสงที่สังเกตการณ์ และแปรผกผันกับขนาดรูรับแสงของเลนส์ใกล้วัตถุ สำหรับกล้องโทรทรรศน์ที่มีรูรับแสงทรงกลม ขนาดภาพที่ที่เล็กที่สุดซึ่งถูกจำกัดโดยขีดจำกัดการเลี้ยวเบนคือขนาดของจานแอรี ยิ่งขนาดรูรับแสงของเลนส์ลดลง การเลี้ยวเบนก็จะยิ่งเพิ่มขึ้นตามสัดส่วน ปัญหาของเลนส์ที่มีรูรับแสงขนาดเล็กเช่น f/22 จะเกิดขึ้นจากขีดจำกัดการเลี้ยวเบนเป็นหลัก ไม่ใช่เพราะความคลาดหรือความไม่สมบูรณ์อื่น ๆ ในโครงสร้างของเลนส์
สำหรับกล้องจุลทรรศน์ ความละเอียดเชิงพื้นที่ซึ่งจำกัดโดยขีดจำกัดการเลี้ยวเบนจะแปรตามความยาวคลื่นของแสงและรูรับแสงเชิงตัวเลขของเลนส์ใกล้วัตถุหรือแหล่งกำเนิดแสงของวัตถุ ขึ้นอยู่กับว่าอย่างไหนเล็กกว่า
ในทางดาราศาสตร์ กล้องโทรทรรศน์เชิงแสงที่อยู่บนพื้นผิวโลกมีความละเอียดที่ต่ำกว่าขีดจำกัดการเลี้ยวเบนมาก เนื่องจากแสงที่ส่องเข้ามาได้รับผลกระทบจากชั้นบรรยากาศ ในหอดูดาวสมัยใหม่บางแห่งสามารถเพิ่มความละเอียดได้โดยใช้เทคโนโลยีอะแดปทิฟออปติก แต่ถึงแม้จะใช้แล้วก็ยังยากที่จะไปจนถึงขีดจำกัดการเลี้ยวเบน
กล้องโทรทรรศน์วิทยุมักใช้ความยาวคลื่นที่ยาวมาก (มิลลิเมตรถึงเมตร) จึงถึงขีดจำกัดการเลี้ยวเบนได้ง่ายกว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศ เช่นกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล หากการออกแบบโดยไม่มีความคลาดทางทัศนศาสตร์ จะทำงานจนถึงขีดจำกัดการเลี้ยวเบนเสมอ
ขีดจำกัดการเลี้ยวเบนของอับเบอในกล้องจุลทรรศน์
การสังเกตโครงสร้างความยาวคลื่นย่อยในกล้องจุลทรรศน์ทำได้ยากเนื่องจากขีดจำกัดการเลี้ยวเบนแบบอับเบอ ซึ่งในปี 1873 แอ็นสท์ อับเบอเป็นผู้เสนอขึ้น โดยถ้าแสงมีความยาวคลื่น ลู่เข้าสู่จุดด้วยครึ่งมุม และดรรชนีหักเหของตัวกลางเป็น แล้ว จะมีขีดจำกัดการเลี้ยวเบนเป็น
ตัวส่วน เรียกว่า รูรับแสงเชิงตัวเลข (NA) ซึ่งในทัศนศาสตร์สมัยใหม่มีค่าประมาณ 1.4–1.6 และขีดจำกัดอับเบอคือ ถ้าให้ NA ของแสงสีเขียวที่ 500 nm เป็น 1 แล้ว ขีดจำกัดอับเบอจะอยู่ที่ประมาณ (0.25 μm) ซึ่งเล็กกว่าเซลล์สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ (1 μm ถึง 100 μm) และไวรัส (100 nm), โปรตีน (10 nm) โมเลกุลขนาดเล็ก (1 nm) ความยาวคลื่นที่สั้นลง เช่น กล้องจุลทรรศน์อัลตราไวโอเลตหรือรังสีเอกซ์ สามารถใช้เพื่อเพิ่มความละเอียดเชิงแสงได้ แม้ว่าเทคนิคเหล่านี้จะให้ความละเอียดที่ดี แต่ก็มีราคาแพงและมีค่าความเปรียบต่างที่ไม่ดีในตัวอย่างทางชีวภาพ อีกทั้งยังอาจสร้างความเสียหายต่อตัวอย่างได้
ในกล้องถ่ายภาพดิจิทัล
ในกล้องดิจิทัล ผลจากขีดจำกัดการเลี้ยวเบนจะเกี่ยวพันกับของเส้นตารางพิกเซลทั่วไป ผลรวมของส่วนต่าง ๆ ของระบบเชิงแสงนี้ถูกกำหนดโดยของฟังก์ชันกระจายจุด (PSF) ฟังก์ชันกระจายจุดของเลนส์ที่ขีดจำกัดการเลี้ยวเบนจะมีลักษณะเป็นจานแอรี ฟังก์ชันกระจายจุดของกล้องถ่ายภาพ หรือที่เรียกว่า ฟังก์ชันการตอบสนองของเครื่องมือวัด (instrument response function, IRF) สามารถประมาณได้ด้วยฟังก์ชันสี่เหลี่ยมที่มีความกว้างเท่ากับระยะพิกเซล ไม่ว่าฟังก์ชันการตอบสนองของเครื่องมือจะเป็นแบบใด ฟังก์ชันนี้แทบไม่ขึ้นกับค่าเอฟของเลนส์เลย ดังนั้นค่าเอฟที่แตกต่างกันจึงสามารถทำงานได้ในสามระบบที่แตกต่างกัน
การแพร่กระจายของ PSF ที่ขีดจำกัดการเลี้ยวเบนจะประมาณโดยเส้นผ่านศูนย์กลางของจุดมืดแรกของจานแอรี คือ
โดย คือความยาวคลื่นของแสง ส่วน คือค่าเอฟ เช่น ที่ f/8 และแสงสีเขียวความยาวคลื่น 0.5 μm ได้ว่า = 9.76 μm
อ้างอิง
- デジタル大辞泉. "回折限界とは". コトバンク (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2020-11-01.
- Born, Max; Emil Wolf (1997). Principles of Optics. . ISBN .
- Lipson, Lipson and Tannhauser (1998). Optical Physics. United Kingdom: Cambridge. p. 340. ISBN .Lipson, Lipson and Tannhauser (1998). Optical Physics. United Kingdom: Cambridge. p. 340. ISBN .
- Fliegel, Karel (December 2004). "Modeling and Measurement of Image Sensor Characteristics" (PDF). Radioengineering. 13 (4).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khidcakdkareliywebn diffraction limit khuxkhidcakdthangthvsdikhxngkhwamlaexiydechingaesng xnmacakpraktkarnkareliywebnkhxngaesngphayinrabbechingaesng echn klxngculthrrsn klxngothrthrrsn aela klxngthayphaphkhidcakdkareliywebnkhxngklxngculthrrsn d l2nsin 8 displaystyle d frac lambda 2n sin theta thixnusawriykhxng aexnsth xbebx phukhidsutrkarpramankhakrafsdswnlxkarithumaesdngkhwamsakhyrahwangkhwamlaexiydechingmumkbesnphansunyklangrurbaesng thikhidcakdkareliywebninkhwamyawkhluntang odyyktwxyangklxngothrthrrsntang echn dawsinaenginbngbxkwaklxngothrthrrsnxwkashbebilekuxbthungkhidcakdkareliywebninchwngaesngthimxngehnthi 0 1 philipda enuxngcakkhidcakdkareliywebnekidcakkarthikhwamyawkhlunkhxngaesngyawephiyngphx emuxethiybkbkhwamaemnyathicaepninkarcaaenkwtthu ephuxthicaihidkhwamlaexiydechingaesngmakkhuncungxacichkhlunthimikhwamyawkhlunsn echn rngsiaekhothd sahrbkarsngektphaphrwmodythwip khwamlaexiydechingaesngkhxngrabbkarsrangphaphdwyaesng echn klxngculthrrsn klxngothrthrrsn aela klxngthayphaph thukkhwbkhumodypccytang echn khwamimsmburnkhxngelnsaelakhwamkhladthangthsnsastr xyangirktam aemwacasamarthsrangrabbechingaesngthimikhwamethiyngtrngthismburnaebbid aetkimidhmaykhwamwacaidkhwamlaexiydechingaesngmakethaidkid odycamikhxcakdinkhwamlaexiydechingaesngenuxngcakkareliywebnkhxngaesng khidcakdnieriykwa khidcakdkareliywebn khwamlaexiydechingaesngthicakdkareliywebnkhxngklxngothrthrrsncaaeprtamkhwamyawkhlunkhxngaesngthisngektkarn aelaaeprphkphnkbkhnadrurbaesngkhxngelnsiklwtthu sahrbklxngothrthrrsnthimirurbaesngthrngklm khnadphaphthithielkthisudsungthukcakdodykhidcakdkareliywebnkhuxkhnadkhxngcanaexri yingkhnadrurbaesngkhxngelnsldlng kareliywebnkcayingephimkhuntamsdswn pyhakhxngelnsthimirurbaesngkhnadelkechn f 22 caekidkhuncakkhidcakdkareliywebnepnhlk imichephraakhwamkhladhruxkhwamimsmburnxun inokhrngsrangkhxngelns sahrbklxngculthrrsn khwamlaexiydechingphunthisungcakdodykhidcakdkareliywebncaaeprtamkhwamyawkhlunkhxngaesngaelarurbaesngechingtwelkhkhxngelnsiklwtthuhruxaehlngkaenidaesngkhxngwtthu khunxyukbwaxyangihnelkkwa inthangdarasastr klxngothrthrrsnechingaesngthixyubnphunphiwolkmikhwamlaexiydthitakwakhidcakdkareliywebnmak enuxngcakaesngthisxngekhamaidrbphlkrathbcakchnbrryakas inhxdudawsmyihmbangaehngsamarthephimkhwamlaexiydidodyichethkhonolyixaaedpthifxxptik aetthungaemcaichaelwkyngyakthicaipcnthungkhidcakdkareliywebn klxngothrthrrsnwithyumkichkhwamyawkhlunthiyawmak milliemtrthungemtr cungthungkhidcakdkareliywebnidngaykwa klxngothrthrrsnxwkas echnklxngothrthrrsnxwkashbebil hakkarxxkaebbodyimmikhwamkhladthangthsnsastr cathangancnthungkhidcakdkareliywebnesmxkhidcakdkareliywebnkhxngxbebxinklxngculthrrsnkarsngektokhrngsrangkhwamyawkhlunyxyinklxngculthrrsnthaidyakenuxngcakkhidcakdkareliywebnaebbxbebx sunginpi 1873 aexnsth xbebxepnphuesnxkhun odythaaesngmikhwamyawkhlun l displaystyle lambda luekhasucuddwykhrungmum 8 displaystyle theta aeladrrchnihkehkhxngtwklangepn n displaystyle n aelw camikhidcakdkareliywebnepn d l2nsin 8 l2NA displaystyle d frac lambda 2n sin theta frac lambda 2 mathrm NA twswn nsin 8 displaystyle n sin theta eriykwa rurbaesngechingtwelkh NA sunginthsnsastrsmyihmmikhapraman 1 4 1 6 aelakhidcakdxbebxkhux d l2 8 displaystyle d frac lambda 2 8 thaih NA khxngaesngsiekhiywthi 500 nm epn 1 aelw khidcakdxbebxcaxyuthipraman d l2 250 nm displaystyle d frac lambda 2 250 text nm 0 25 mm sungelkkwaesllsingmichiwitswnihy 1 mm thung 100 mm aelaiwrs 100 nm oprtin 10 nm omelkulkhnadelk 1 nm khwamyawkhlunthisnlng echn klxngculthrrsnxltraiwoxelthruxrngsiexks samarthichephuxephimkhwamlaexiydechingaesngid aemwaethkhnikhehlanicaihkhwamlaexiydthidi aetkmirakhaaephngaelamikhakhwamepriybtangthiimdiintwxyangthangchiwphaph xikthngyngxacsrangkhwamesiyhaytxtwxyangidinklxngthayphaphdicithlinklxngdicithl phlcakkhidcakdkareliywebncaekiywphnkbkhxngesntarangphikeslthwip phlrwmkhxngswntang khxngrabbechingaesngnithukkahndodykhxngfngkchnkracaycud PSF fngkchnkracaycudkhxngelnsthikhidcakdkareliywebncamilksnaepncanaexri fngkchnkracaycudkhxngklxngthayphaph hruxthieriykwa fngkchnkartxbsnxngkhxngekhruxngmuxwd instrument response function IRF samarthpramaniddwyfngkchnsiehliymthimikhwamkwangethakbrayaphikesl imwafngkchnkartxbsnxngkhxngekhruxngmuxcaepnaebbid fngkchnniaethbimkhunkbkhaexfkhxngelnsely dngnnkhaexfthiaetktangkncungsamarththanganidinsamrabbthiaetktangkn karaephrkracaykhxng PSF thikhidcakdkareliywebncapramanodyesnphansunyklangkhxngcudmudaerkkhxngcanaexri khux d 2 1 22lN displaystyle d 2 1 22 lambda N ody l displaystyle lambda khuxkhwamyawkhlunkhxngaesng swn N displaystyle N khuxkhaexf echn thi f 8 aelaaesngsiekhiywkhwamyawkhlun 0 5 mm idwa d displaystyle d 9 76 mmxangxingデジタル大辞泉 回折限界とは コトバンク phasayipun subkhnemux 2020 11 01 Born Max Emil Wolf 1997 Principles of Optics ISBN 0 521 63921 2 Lipson Lipson and Tannhauser 1998 Optical Physics United Kingdom Cambridge p 340 ISBN 978 0 521 43047 0 Lipson Lipson and Tannhauser 1998 Optical Physics United Kingdom Cambridge p 340 ISBN 978 0 521 43047 0 Fliegel Karel December 2004 Modeling and Measurement of Image Sensor Characteristics PDF Radioengineering 13 4