หมู่เกาะกาลาปาโกส (สเปน: Islas Galápagos) เป็นหมู่เกาะกลางมหาสมุทรแปซิฟิก มีความน่าสนใจทั้งด้านธรณีวิทยา สัตววิทยา และนิเวศวิทยาเป็นอย่างยิ่ง เป็นส่วนหนึ่งของประเทศเอกวาดอร์ โดยมีชื่อภาษาสเปนอย่างเป็นทางการว่า กลุ่มเกาะโกลอน (Archipiélago de Colón) ตั้งอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร ห่างจากทวีปออกไปทางตะวันตก 1,000 กิโลเมตร
หมู่เกาะกาลาปาโกส * | |
---|---|
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก | |
สิงโตทะเลกาลาปาโกสบนเกาะซานกริสโตบัล | |
พิกัด | 0°38′20.8″S 90°28′14.0″W / 0.639111°S 90.470556°W |
(ประเทศ) | เอกวาดอร์ |
ภูมิภาค ** | ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน |
ประเภท | มรดกทางธรรมชาติ |
(เกณฑ์พิจารณา) | (vii), (viii), (ix), (x) |
อ้างอิง | 1 |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 1978 (คณะกรรมการสมัยที่ 2) |
เพิ่มเติม | 2001 |
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก |
ใน ค.ศ. 2007 องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้จัดหมู่เกาะกาลาปาโกสให้เป็นแหล่งมรดกโลกที่อยู่ในสภาวะอันตราย
สภาพทั่วไป
หมู่เกาะกาลาปาโกสประกอบด้วย 18 เกาะหลัก เกาะเล็ก 3 เกาะ พร้อมเกาะเล็ก ๆ และโขดหินกลางทะเลอีกประมาณ 170 แห่ง โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 7,994 ตารางกิโลเมตร หรือ 4,996,250 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ในทะเล 59,500 ตารางกิโลเมตร เกาะต่าง ๆ มีชื่อเรียกทั้งในภาษาสเปนและภาษาอังกฤษ
หมู่เกาะนี้เกิดจากการสะสมตัวของลาวาจากภูเขาไฟเมื่อ 7–9 ล้านปีมาแล้ว และยังมีภูเขาไฟมีพลัง แม้ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็ยังเกิดภูเขาไฟอยู่ประปราย ภูมิประเทศที่โดดเด่น คือพื้นผิวที่ขรุขระอันเกิดจากภูเขาไฟ ปล่องภูเขาไฟ และหน้าผา เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะอัลเบมาร์ล (Albermarle) หรือเกาะอิซาเบลา (Isabela) มีรูปร่างเป็นฉาก ความยาวทั้งหมด 132 กิโลเมตร ครอบครองเนื้อที่เกินครึ่งของหมู่เกาะนี้ จุดที่สูงที่สุดในหมู่เกาะนี้คือเขาอาซุล (Azul) สูง 1,689 เมตร โดยหมู่เกาะนี้ยังมีภูเขาไฟชื่อภูเขาไฟวุล์ฟ (Wolf) อยู่ทางด้านเหนือของเกาะอิซาเบลาไปหลายไมล์ ส่วนเกาะที่มีขนาดใหญ่รองลงไปคือเกาะอินดิฟาทิเกเบิล (Indefatigable) หรือเกาะซานตากรุซ (Santa Cruz)
หมู่เกาะกาลาปาโกสเป็นหมู่เกาะที่อยู่ไกลจากชายฝั่งเอกวาดอร์ประมาณ 965 กิโลเมตร หรือ 600 ไมล์ เป็นหมู่เกาะที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตรและในมหาสมุทรแปซิฟิก ทำให้มีกระแสน้ำไหลผ่าน 3 สาย คือ กระแสน้ำอุ่นจากทางด้านเหนือ กระแสน้ำเย็นจากทางด้านใต้ แล้วกระแสน้ำเย็นจากที่ลึกจากทางด้านตะวันตกของหมู่เกาะ
ประวัติ
ตามประวัติกล่าวว่าผู้มาแวะที่หมู่เกาะนี้เป็นครั้งแรก คือกะลาสีเรือของชาววัฒนธรรม (Chimu) จากเปรูตอนเหนือ เมื่อ ค.ศ. 1485 แต่จากบันทึกอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ถือว่าบุคคลแรกที่กล่าวถึงหมู่เกาะนี้ก็คือ มาถึงเมื่อวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 1535 อีกไม่นานต่อมา คือใน ค.ศ. 1570 หมู่เกาะกาลาปาโกสก็ปรากฏในแผนที่โลกเป็นครั้งแรก
วันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1835 ชาลส์ ดาร์วิน ได้เดินทางมาแวะที่หมู่เกาะกาลาปาโกส โดยพักอยู่ในหมู่เกาะนี้ 5 สัปดาห์ ดาร์วินได้เดินทางมากับเรือบีเกิล (Beagle) แวะที่เกาะใหญ่ 4 เกาะ คือเกาะแชแทม เกาะชาลส์ เกาะอัลเบอร์มาร์ล และเกาะเจมส์ โดยใช้เวลา 19 วันในการเก็บสะสมตัวอย่าง และสังเกตลักษณะทางพฤกษศาสตร์และสัตววิทยาของที่นี่ ดาร์วินเรียกหมู่เกาะแห่งนี้ว่า "ห้องปฏิบัติการวิวัฒนาการที่มีชีวิต" (living laboratory of evolution) ความหลากหลายและแตกต่างของสิ่งมีชีวิตในหมู่เกาะนี้ ทำให้ดาร์วินได้ความคิดเรื่องการคัดเลือกพันธุ์โดยธรรมชาติและทฤษฎีวิวัฒนาการ และเมื่อชาลส์ ดาร์วินได้ตีพิมพ์หนังสือ กำเนิดพงศ์พันธุ์ (The Origin of Species หรือชื่อเต็มว่า The Origin of Species by Means of Natural Selection) ใน ค.ศ. 1859 ผู้คนก็รู้จักหมู่เกาะกาลาปาโกสกันมากขึ้น
สัตววิทยาของกาลาปาโกส
ชื่อเสียงของหมู่เกาะนี้เริ่มต้นที่ลักษณะอันน่าแปลกของสัตว์บนเกาะต่าง ๆ นั่นเอง โดยเฉพาะเต่ายักษ์ ซึ่งภาษาสเปนโบราณเรียกว่า กาลาปาโก (galápago) อันเป็นที่มาของชื่อหมู่เกาะนี้ (galápagos เป็นรูปพหูพจน์) เต่าเหล่านี้คาดว่ามีอายุยืนที่สุดในบรรดาสัตว์โลกปัจจุบัน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำแทบจะไม่มีเลย สัตว์เลื้อยคลานมีน้อย ส่วนสัตว์บกท้องถิ่นมีสัตว์ฟันแทะเพียง 7 ชนิด และค้างคาวอีก 2 ชนิด ส่วนนกบนเกาะเหล่านี้มีเพียง 80 ชนิดและชนิดย่อย นกที่พบมากที่สุด (ไม่นับนกน้ำ) คือกาลาปาโกส หรือนกฟินช์ดาร์วิน นั่นเอง
สาเหตุที่สัตว์บนหมู่เกาะกาลาปาโกสเป็นที่น่าสนใจของนักวิทยาศาสตร์ ก็เพราะ 1) มีเปอร์เซ็นต์สัตว์ท้องถิ่นสูงมาก 2) สัตว์ชนิดต่าง ๆ ได้พัฒนาเป็นชนิดย่อยของมันเองในแต่ละเกาะ 3) นกฟินช์กาลาปาโกสได้พัฒนาตนเองขึ้นหลายชนิดจากบรรพบุรุษเดียวกัน โดยมีความแตกต่างสำคัญที่จะงอยปาก 4) มีสัตว์อื่นๆ อีกมากที่พัฒนาตัวเองโดยปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม เช่น อีกัวน่าทะเลที่ว่ายน้ำได้ จะกินพืชทะเลเป็นอาหาร นอกจากนี้ยังมีนกกาน้ำที่บินไม่ได้ 5) เต่ายักษ์ที่เคยแพร่พันธุ์บนทวีป แต่ปัจจุบันสูญพันธุ์ไปแล้ว เหลืออยู่เพียงบนเกาะขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังมีสัตว์ในเขตแอนตาร์กติก เช่นเพนกวิน และ ซึ่งอาศัยอยู่บนเกาะเหล่านี้เคียงข้างกับสัตว์เขตร้อนได้
ผู้คนที่ตั้งชุมชนบนหมู่เกาะนี้มักเป็นชาวเอกวาดอร์ โดยมากจะเป็นบนเกาะซานกริสโตบัล ซานตามาริอา อิซาเบล และซานตากรุซ บางเกาะนั้นไม่มีมนุษย์อยู่เลย รายได้หลักของที่นี่มาจากการท่องเที่ยว ประมง และเกษตรกรรม เมื่อ ค.ศ. 1970 หมู่เกาะกาลาปาโกสมีประชากรทั้งหมดไม่เกิน 6,000 คน ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มาอาศัยชั่วคราวพร้อมครอบครัว และเมื่อ ค.ศ. 1989 มีประชากรทั้งหมดประมาณ 10,000 คน
สภาพปัจจุบัน
สัตว์จำนวนมากในหมู่เกาะนี้เริ่มมีจำนวนลดลง รวมทั้งปลาวาฬและแมวน้ำขนเฟอร์ ซึ่งถูกจับจนเกือบสูญพันธุ์ เต่าก็ลดจำนวนลงอย่างมาก และบางชนิดถึงกับสูญพันธุ์ เพราะมีศัตรูจากถิ่นอื่นที่นักเดินเรือนำเข้ามา
หลังจากรัฐบาลเอกวาดอร์ยึดครองหมู่เกาะนี้เมื่อปี ค.ศ. 1832 ก็เริ่มมีการตั้งนิคมบนเกาะโฟลเรอานา เพื่อรักษาสิทธิ์ของตัวเองไว้ และในที่สุดก็กลายเป็นที่คุมขังนักโทษทางการเมือง ในพุทธทศวรรษ 2440 ประชากรของหมู่เกาะกาลาปาโกสมีประมาณ 600 คน โดยเริ่มตั้งนิคมบนเกาะซานกริสโตบัล, อิซาเบลา และฟลอเรอานาค่อย ๆ เพิ่ม ในช่วงนี้เองที่เริ่มมีการนำสัตว์เพื่อการพาณิชย์เข้ามา เช่น โค แพะ สุกร สุนัข ลา ม้า หนู และพืชต่าง ๆ
สมัยที่ดาร์วินมาแวะที่นี่ เพิ่งมีการตั้งนิคมได้เพียง 3 ปี แต่ก็มีสุกรและแพะจรจัดมากมายแล้ว และสัตว์เหล่านี้โดยมากจะเป็นศัตรูต่อสัตว์หรือพืชต่าง ๆ ส่วนการท่องเที่ยวนั้นแต่เดิมมีข้อจำกัดเนื่องจากสภาพจำกัดทางภูมิศาสตร์ แต่ปัจจุบันมีธุรกิจท่องเที่ยวนำเที่ยวหมู่เกาะกาลาปาโกสอย่างกว้างขวาง ศูนย์กลางการบริหารหมู่เกาะกาลาปาโกสอยู่ที่เมือง (Puerto Baquerizo Moreno) บนเกาะซานกริสโตบัล
การอนุรักษ์กาลาปาโกส
ด้วยเหตุผลทางนิเวศวิทยาข้างต้น ทำให้หลายหน่วยงานพยายามยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือในการอนุรักษ์พันธุ์พืชและสัตว์ รวมทั้งสภาพนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมบนหมู่เกาะ นอกจากหน่วยงานจากรัฐบาลเอกวาดอร์แล้ว ยังมีกลุ่มเพื่อนกาลาปาโกส (Friends of Galapagos) กองทุนสัตว์ป่าโลกเพื่อธรรมชาติ (World Wide Fund for Nature) โครงการพัฒนาของสหประชาชาติ ศูนย์ช่วยเหลือของสมาคมสัตววิทยาฟรังค์ฟวร์ทเพื่อสัตว์ป่าที่ถูกคุกคาม (Frankfurt Zoological Society Help for Threatened Wildlife) และสถาบันอื่น ๆ ทำให้ปัจจุบันมีการวิจัยมากมายเกี่ยวกับเต่ายักษ์พวกนี้ และได้รับความสำเร็จพอสมควร ทั้งยังมีคณะกรรมการที่เรียกว่า Galapagos Conservation Trust ในกรุงลอนดอน ที่พยายามอนุรักษ์สภาพทางนิเวศวิทยาของหมู่เกาะ และเสนอให้เป็นแหล่งมรดกโลก และจัดให้อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตราย
เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก
- (vii) - เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดของการเป็นตัวแทนในวิวัฒนาการสำคัญต่าง ๆ ในอดีตของโลก เช่น ยุคสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาความหลากหลายทางธรรมชาติบนพื้นโลก
- (viii) - เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางธรณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่กำลังเกิดอยู่ เช่น ภูเขาไฟ เกษตรกรรมขั้นบันได
- (ix) - เป็นแหล่งที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามเป็นพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
- (x) - เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวมความหนาแน่นของพืชและสัตว์ที่ทั่วโลกให้ความสนใจด้วย
หน่วยงานที่สำคัญ
บนหมู่เกาะกาลาปาโกสมีหน่วยงานสำคัญที่ศึกษาด้านนิเวศวิทยาของหมู่เกาะ ได้แก่ (The Charles Darwin Research Station หรือ CDRS) ที่ได้จัดตั้งขึ้นโดยมูลนิธิชาลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin Foundation) เมื่อต้นพุทธทศวรรษ 2503
ครั้นถึง ค.ศ. 1974 เริ่มมีการวางแผนแม่บทเป็นครั้งแรกเพื่อคุ้มครองและจัดการอุทยานแห่งชาติกาลาปาโกสขึ้น และอีก 4 ปีถัดมา ยูเนสโกได้ประกาศให้หมู่เกาะกาลาปาโกสเป็นแหล่งมรดกโลก
นอกจากนี้ กองทุนสัตว์ป่าโลก ได้ส่งเสริมการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์และพืชในหมู่เกาะกาลาปาโกสตั้งแต่ ค.ศ. 1962 อีกหน่วยงานหนึ่ง โดยมีผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจ
อ้างอิง
- องค์การยูเนสโก หมู่เกาะกาลาปาโกส
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- มูลนิธิชาลส์ ดาร์วิน
- The Galapagos Conservation Trust 2005-10-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- หมู่เกาะกาลาปาโกส
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hmuekaakalapaoks sepn Islas Galapagos epnhmuekaaklangmhasmuthraepsifik mikhwamnasnicthngdanthrniwithya stwwithya aelaniewswithyaepnxyangying epnswnhnungkhxngpraethsexkwadxr odymichuxphasasepnxyangepnthangkarwa klumekaaoklxn Archipielago de Colon tngxyuinaenwesnsunysutr hangcakthwipxxkipthangtawntk 1 000 kiolemtrhmuekaakalapaoks aehlngmrdkolkodyyuensoksingotthaelkalapaoksbnekaasankrisotblphikd0 38 20 8 S 90 28 14 0 W 0 639111 S 90 470556 W 0 639111 90 470556praeths exkwadxrphumiphakh latinxemrikaaelaaekhribebiynpraephthmrdkthangthrrmchatieknthphicarna vii viii ix x xangxing1prawtikarkhunthaebiynkhunthaebiyn1978 khnakrrmkarsmythi 2 ephimetim2001 chuxtamthiidkhunthaebiyninbychiaehlngmrdkolk phumiphakhthicdaebngodyyuensokaephnthiolkaesdngphaphhmuekaakalapaoks hangcakchayfngxemrikaitipthangtawntk xyuinbriewnesnsunysutrhmuekaakalapaoks in kh s 2007 xngkhkarkarsuksa withyasastr aelawthnthrrmaehngshprachachati yuensok idcdhmuekaakalapaoksihepnaehlngmrdkolkthixyuinsphawaxntraysphaphthwiphmuekaakalapaoksprakxbdwy 18 ekaahlk ekaaelk 3 ekaa phrxmekaaelk aelaokhdhinklangthaelxikpraman 170 aehng odymiphunthithnghmd 7 994 tarangkiolemtr hrux 4 996 250 ir khrxbkhlumphunthiinthael 59 500 tarangkiolemtr ekaatang michuxeriykthnginphasasepnaelaphasaxngkvs hmuekaaniekidcakkarsasmtwkhxnglawacakphuekhaifemux 7 9 lanpimaaelw aelayngmiphuekhaifmiphlng aeminkhriststwrrsthi 20 kyngekidphuekhaifxyuprapray phumipraethsthioddedn khuxphunphiwthikhrukhraxnekidcakphuekhaif plxngphuekhaif aelahnapha ekaathiihythisudkhuxekaaxlebmarl Albermarle hruxekaaxisaebla Isabela miruprangepnchak khwamyawthnghmd 132 kiolemtr khrxbkhrxngenuxthiekinkhrungkhxnghmuekaani cudthisungthisudinhmuekaanikhuxekhaxasul Azul sung 1 689 emtr odyhmuekaaniyngmiphuekhaifchuxphuekhaifwulf Wolf xyuthangdanehnuxkhxngekaaxisaeblaiphlayiml swnekaathimikhnadihyrxnglngipkhuxekaaxindifathiekebil Indefatigable hruxekaasantakrus Santa Cruz hmuekaakalapaoksepnhmuekaathixyuiklcakchayfngexkwadxrpraman 965 kiolemtr hrux 600 iml epnhmuekaathixyubnesnsunysutraelainmhasmuthraepsifik thaihmikraaesnaihlphan 3 say khux kraaesnaxuncakthangdanehnux kraaesnaeyncakthangdanit aelwkraaesnaeyncakthilukcakthangdantawntkkhxnghmuekaaprawtitamprawtiklawwaphumaaewathihmuekaaniepnkhrngaerk khuxkalasieruxkhxngchawwthnthrrm Chimu cakeprutxnehnux emux kh s 1485 aetcakbnthukxyangepnlaylksnxksr thuxwabukhkhlaerkthiklawthunghmuekaanikkhux mathungemuxwnthi 10 minakhm kh s 1535 xikimnantxma khuxin kh s 1570 hmuekaakalapaokskpraktinaephnthiolkepnkhrngaerk wnthi 15 knyayn kh s 1835 chals darwin idedinthangmaaewathihmuekaakalapaoks odyphkxyuinhmuekaani 5 spdah darwinidedinthangmakberuxbiekil Beagle aewathiekaaihy 4 ekaa khuxekaaaechaethm ekaachals ekaaxlebxrmarl aelaekaaecms odyichewla 19 wninkarekbsasmtwxyang aelasngektlksnathangphvkssastraelastwwithyakhxngthini darwineriykhmuekaaaehngniwa hxngptibtikarwiwthnakarthimichiwit living laboratory of evolution khwamhlakhlayaelaaetktangkhxngsingmichiwitinhmuekaani thaihdarwinidkhwamkhideruxngkarkhdeluxkphnthuodythrrmchatiaelathvsdiwiwthnakar aelaemuxchals darwinidtiphimphhnngsux kaenidphngsphnthu The Origin of Species hruxchuxetmwa The Origin of Species by Means of Natural Selection in kh s 1859 phukhnkruckhmuekaakalapaoksknmakkhunstwwithyakhxngkalapaokschuxesiyngkhxnghmuekaanierimtnthilksnaxnnaaeplkkhxngstwbnekaatang nnexng odyechphaaetayks sungphasasepnobraneriykwa kalapaok galapago xnepnthimakhxngchuxhmuekaani galapagos epnrupphhuphcn etaehlanikhadwamixayuyunthisudinbrrdastwolkpccubn stwkhrungbkkhrungnaaethbcaimmiely stweluxykhlanminxy swnstwbkthxngthinmistwfnaethaephiyng 7 chnid aelakhangkhawxik 2 chnid swnnkbnekaaehlanimiephiyng 80 chnidaelachnidyxy nkthiphbmakthisud imnbnkna khuxkalapaoks hruxnkfinchdarwin nnexng saehtuthistwbnhmuekaakalapaoksepnthinasnickhxngnkwithyasastr kephraa 1 miepxresntstwthxngthinsungmak 2 stwchnidtang idphthnaepnchnidyxykhxngmnexnginaetlaekaa 3 nkfinchkalapaoksidphthnatnexngkhunhlaychnidcakbrrphburusediywkn odymikhwamaetktangsakhythicangxypak 4 mistwxun xikmakthiphthnatwexngodyprbtwihekhakbsphaphaewdlxm echn xikwnathaelthiwaynaid cakinphuchthaelepnxahar nxkcakniyngminkkanathibinimid 5 etayksthiekhyaephrphnthubnthwip aetpccubnsuyphnthuipaelw ehluxxyuephiyngbnekaakhnadihy nxkcakniyngmistwinekhtaexntarktik echnephnkwin aela sungxasyxyubnekaaehlaniekhiyngkhangkbstwekhtrxnid phukhnthitngchumchnbnhmuekaanimkepnchawexkwadxr odymakcaepnbnekaasankrisotbl santamarixa xisaebl aelasantakrus bangekaannimmimnusyxyuely rayidhlkkhxngthinimacakkarthxngethiyw pramng aelaekstrkrrm emux kh s 1970 hmuekaakalapaoksmiprachakrthnghmdimekin 6 000 khn sungepnecahnathikhxngrththimaxasychwkhrawphrxmkhrxbkhrw aelaemux kh s 1989 miprachakrthnghmdpraman 10 000 khnsphaphpccubnstwcanwnmakinhmuekaanierimmicanwnldlng rwmthngplawalaelaaemwnakhnefxr sungthukcbcnekuxbsuyphnthu etakldcanwnlngxyangmak aelabangchnidthungkbsuyphnthu ephraamistrucakthinxunthinkedineruxnaekhama hlngcakrthbalexkwadxryudkhrxnghmuekaaniemuxpi kh s 1832 kerimmikartngnikhmbnekaaoflerxana ephuxrksasiththikhxngtwexngiw aelainthisudkklayepnthikhumkhngnkothsthangkaremuxng inphuthththswrrs 2440 prachakrkhxnghmuekaakalapaoksmipraman 600 khn odyerimtngnikhmbnekaasankrisotbl xisaebla aelaflxerxanakhxy ephim inchwngniexngthierimmikarnastwephuxkarphanichyekhama echn okh aepha sukr sunkh la ma hnu aelaphuchtang smythidarwinmaaewathini ephingmikartngnikhmidephiyng 3 pi aetkmisukraelaaephacrcdmakmayaelw aelastwehlaniodymakcaepnstrutxstwhruxphuchtang swnkarthxngethiywnnaetedimmikhxcakdenuxngcaksphaphcakdthangphumisastr aetpccubnmithurkicthxngethiywnaethiywhmuekaakalapaoksxyangkwangkhwang sunyklangkarbriharhmuekaakalapaoksxyuthiemuxng Puerto Baquerizo Moreno bnekaasankrisotblkarxnurkskalapaoksdwyehtuphlthangniewswithyakhangtn thaihhlayhnwynganphyayamyunmuxekhamachwyehluxinkarxnurksphnthuphuchaelastw rwmthngsphaphniewswithyaaelasingaewdlxmbnhmuekaa nxkcakhnwyngancakrthbalexkwadxraelw yngmiklumephuxnkalapaoks Friends of Galapagos kxngthunstwpaolkephuxthrrmchati World Wide Fund for Nature okhrngkarphthnakhxngshprachachati sunychwyehluxkhxngsmakhmstwwithyafrngkhfwrthephuxstwpathithukkhukkham Frankfurt Zoological Society Help for Threatened Wildlife aelasthabnxun thaihpccubnmikarwicymakmayekiywkbetayksphwkni aelaidrbkhwamsaercphxsmkhwr thngyngmikhnakrrmkarthieriykwa Galapagos Conservation Trust inkrunglxndxn thiphyayamxnurkssphaphthangniewswithyakhxnghmuekaa aelaesnxihepnaehlngmrdkolk aelacdihxyuinphawaesiyngxntrayehtuphlthiidrbkhdeluxkepnmrdkolk vii epntwxyangthiednchdkhxngkarepntwaethninwiwthnakarsakhytang inxditkhxngolk echn yukhstweluxykhlan yukhnaaekhng sungsathxnihehnthungkarphthnakhwamhlakhlaythangthrrmchatibnphunolk viii epntwxyangthiednchdinkarepntwaethnkhxngkrabwnkarepliynaeplngthisakhythangthrniwithyahruxwiwthnakarthangchiwwithya aelaptismphnthkhxngmnusytxsingaewdlxmthangthrrmchatithikalngekidxyu echn phuekhaif ekstrkrrmkhnbnid ix epnaehlngthiekidcakpraktkarnthangthrrmchatithimiexklksnhayakhruxswyngamepnphiess echn aemna natk phuekha x epnthinthixyuxasykhxngchnidstwaelaphnthuphuchthihayakhruxthitkxyuinsphawaxntray aetyngkhngsamarthdarngchiwitxyuid sungrwmthungrabbniewsxnepnaehlngrwmkhwamhnaaennkhxngphuchaelastwthithwolkihkhwamsnicdwyhnwynganthisakhybnhmuekaakalapaoksmihnwyngansakhythisuksadanniewswithyakhxnghmuekaa idaek The Charles Darwin Research Station hrux CDRS thiidcdtngkhunodymulnithichals darwin Charles Darwin Foundation emuxtnphuthththswrrs 2503 khrnthung kh s 1974 erimmikarwangaephnaembthepnkhrngaerkephuxkhumkhrxngaelacdkarxuthyanaehngchatikalapaokskhun aelaxik 4 pithdma yuensokidprakasihhmuekaakalapaoksepnaehlngmrdkolk nxkcakni kxngthunstwpaolk idsngesrimkarxnurksphnthustwaelaphuchinhmuekaakalapaokstngaet kh s 1962 xikhnwynganhnung odymiphllphthepnthinaphxicxangxingxngkhkaryuensok hmuekaakalapaoksduephimsumhinchayfngkhxngdarwinaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb hmuekaakalapaoks mulnithichals darwin The Galapagos Conservation Trust 2005 10 24 thi ewyaebkaemchchin hmuekaakalapaoks