การแปลงภายใน (อังกฤษ: Internal conversion) เป็นกระบวนการ การสลายให้กัมมันตรังสี ที่เมื่อ นิวเคลียส ที่ถูกกระตุ้นมีปฏิสัมพันธ์แบบ แม่เหล็กไฟฟ้า กับอิเล็กตรอนหนึ่งตัวในวงโคจรของอะตอม ทำให้อิเล็กตรอนถูกปล่อยออกมา (พุ่งออกมา) จากอะตอม ดังนั้นในกระบวนการการแปลงภายใน อิเล็กตรอนพลังงานสูงตัวหนึ่งจะถูกปล่อยออกมาจากอะตอมกัมมันตรังสี แต่ไม่ได้มาจากนิวเคลียส ด้วยเหตุนี้อิเล็กตรอนความเร็วสูงที่เกิดจากการแปลงภายในจึงไม่ใช่ อนุภาคบีตา เนื่องจากอนุภาคบีตาจะต้องมาจาก การสลายให้อนุภาคบีตา โดยที่พวกมันจะถูกสร้างขึ้นใหม่ในกระบวนการการสลายตัวของนิวเคลียส
การแปลงภายในจะเป็นไปได้เมื่อใดก็ตามที่ มีความเป็นไปได้ ยกเว้นในกรณีที่อะตอมถูกเปลี่ยนเป็นไอออนอย่างสมบูรณ์ ในระหว่างการแปลงภายใน, เลขอะตอม จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น (อย่างที่เป็นเหมือนกรณีการสลายตัวได้อนุภาคแกมมา) จึงไม่มีการแปรพันธ์ุขององค์ประกอบหนึ่งไปเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งเกิดขึ้น
เนื่องจากอิเล็กตรอนหนึ่งตัวจะหายไปจากอะตอม หลุม(hole)หนึ่งตัวก็จะไปปรากฏในเปลือกอิเล็กตรอนซึ่งจะถูกเติมเต็มในภายหลังโดยอิเล็กตรอนอื่น ๆ กระบวนการนี้จะผลิต , , หรือทั้งสองอย่าง อะตอมจึงปลดปล่อยอิเล็กตรอนพลังงานสูงและโฟตอนรังสีเอกซ์ แต่อนุภาคเหล่านี้ไม่มีตัวไหนเลยที่เกิดในนิวเคลียส โดยที่นิวเคลียสจะจัดหาพลังงานที่จำเป็นให้เท่านั้น
เนื่องจากพวกอิเล็กตรอนหลักจากการแปลงภายในจะมีชิ้นส่วน (ขนาดใหญ่) ที่คงที่ของพลังงานการสลายแบบลักษณะเฉพาะ พวกมันจึงมีสเปกตรัมพลังงานที่ไม่ต่อเนื่อง มากกว่าจะมีลักษณะของสเปกตรัมที่แพร่กระจาย (ต่อเนื่อง) ของ ในขณะที่สเปกตรัมพลังงานของอนุภาคเบต้าจะวาดออกมาเป็นเนินกว้าง สเปกตรัมพลังงานของอิเล็กตรอนจากการแปลงภายในจะถูกวาดออกมาเป็นยอดคมอันเดียว (ดูตัวอย่างด้านล่าง)
กลไก
ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของกลศาสตร์ควอนตัมสำหรับกระบวนการการแปลงภายใน, ของอิเล็กตรอนที่เปลือกชั้นใน (ปกติจะเป็น s อิเล็กตรอน) จะแทรกซึมเข้าไปในเนื้อของ นิวเคลียส ซึ่งหมายความว่ามีความเป็นไปได้ที่แน่นอนของการค้นหาอิเล็กตรอนภายในนิวเคลียส เมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ อิเล็กตรอนอาจเชื่อมไปยังสภาวะของพลังงานที่ถูกกระตุ้นของนิวเคลียสและใช้พลังงานจากการเปลี่ยนผ่านนิวเคลียสโดยตรง โดยปราศจากรังสีแกมมาช่วงกลางที่ถูกผลิตในครั้งแรก พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาจะเท่ากับพลังงานการเปลี่ยนผ่านในนิวเคลียส, ลบด้วยพลังงานยึดเหนี่ยวของอิเล็กตรอนที่ยึดเหนี่ยวเข้ากับอะตอม
อิเล็กตรอนที่เกิดจากการแปลงภายในส่วนใหญ่จะมาจากเปลือกชั้น K (สถานะ 1s) เพราะอิเล็กตรอนสองตัวนี้มีความน่าจะเป็นสูงสุดของการมีอยู่ภายในนิวเคลียส อย่างไรก็ตาม สถานะ s ในเปลือกชั้น L, M และ N (เช่นสถานะ 2s, 3s และ 4s) ยังสามารถที่จะเชื่อมเข้ากับสนามนิวเคลียสและก่อให้เกิดการปลดปล่อยอิเล็กตรอนจากการแปลงภายในจากเปลือกเหล่านั้น (ที่เรียกว่าการแปลงภายในจากเปลือก L หรือ M หรือ N) อัตราส่วนความเป็นไปได้ของการแปลงภายในจากเปลือก K ต่อเปลือก L, M, หรือ N สำหรับนิวไคลด์ต่างๆได้รับการจัดเตรียมไว้
พลังงานยึดเหนี่ยวอะตอมของ s อิเล็กตรอนอย่างน้อยต้องถูกจ่ายให้กับอิเล็กตรอนนั้นเพื่อที่จะดีดตัวมันให้ออกจากอะตอมเพื่อที่จะทำให้เกิดการแปลงภายใน; นั่นคือกล่าวได้ว่า การแปลงภายในไม่สามารถเกิดขึ้นได้หากพลังงานการสลายตัวของนิวเคลียสมีไม่เพียงพอที่จะเอาชนะพลังงานยึดเหนี่ยว มีนิวไคลด์กัมมันตรังสีไม่กี่ตัวที่พลังงานการสลายตัวมีไม่เพียงพอที่จะแปลง (ดีดออก) อิเล็กตรอน 1s (เปลือก K) หนึ่งตัว และนิวไคลด์เหล่านี้ เพื่อที่จะสลายตัวโดยการแปลงภายใน จะต้องสลายตัวโดยการดีดอิเล็กตรอนออกจากเปลือก L หรือ M หรือ N (กล่าวคือโดยการดีดออกอิเล็กตรอน 2s, 3s หรือ 4s) เนื่องจากพลังงานยึดเหนี่ยวเหล่านี้มีค่าต่ำลง
ถึงแม้ว่า s อิเล็กตรอนจะมีแนวโน้มมากขึ้นสำหรับกระบวนการการแปลงภายในเนื่องจากการแทรกซึมแบบนิวเคลียร์สุดยอดของพวกมันเมื่อเทียบกับอิเล็กตรอนที่มีโมเมนตัมเชิงมุมในวงโคจรก็ตาม, การศึกษาเกี่ยวกับสเปกตรัมแสดงให้เห็นว่า p อิเล็กตรอน (จากเปลือก L และสูงกว่า) จะถูกขับออกมาเป็นครั้งคราวในกระบวนการการการแปลงภายใน
หลังจากที่อิเล็กตรอนจากกระบวนการการแปลงภายในถูกปล่อยออกมา อะตอมจะถูกทิ้งไว้แต่ตำแหน่งที่ว่างในหนึ่งของเปลือกอิเล็กตรอนขอวมัน ซึ่งมักจะเป็นเปลือกชั้นใน หลุมนี้จะถูกเติมเต็มด้วยอิเล็กตรอนจากหนึ่งในเปลือกที่สูงขึ้นและส่งผลให้ หรือ หนึ่งตัวหรือมากกว่า จะถูกปล่อยออกมาเป็นอิเล็กตรอนที่เหลืออยู่ในอะตอมไหลลงไปเพื่อแทนตำแหน่งที่ว่าง
ตัวอย่าง: การสลายตัวของ 203ปรอท
ทางด้านซ้ายแสดงให้เห็นว่า 203ปรอทจะผลิตสเปกตรัมของบีตาอย่างต่อเนื่องด้วยพลังงานสูงสุด 214 keV, ที่จะนำไปสู่สภาวะกระตุ้นของนิวเคลียสลูกสาว 203Tl สถาวะนี้จะสูญสลายเร็วมาก (ภายใน 2.8x10-10 s) ไปอยู่ที่สภาวะกราวด์ของ 203Tl ปลดปล่อยควอนตัมแกมมาออกมาที่ 279 keV
รูปทางด้านขวาแสดงให้เห็นว่าสเปคตรัมอิเล็กตรอนของ 203ปรอท ที่ถูกวัดโดยวิธีการของสเปกโตรมิเตอร์แม่เหล็ก คุณจะเห็นสเปกตรัมเบต้าที่ต่อเนื่องพร้อมกับเส้น K, L และ M เนื่องจากการแปลงภายใน เนื่องจากพลังงานยึดเหนี่ยวของ K อิเล็กตรอนใน 203Tl มีจำนวน 85 keV, ดังนั้นเส้น K จะมีพลังงาน 279-85 = 194 keV. เพราะว่ามีพลังงานยึดเหนี่ยวน้อย, เส้น L และ M จึงมีพลังงานสูงกว่า. เนื่องจากความละเอียดพลังงานที่แน่นอนของเครื่องสเปกโตรมิเตอร์ "เส้น"ทั้งหลายจึงมีรูปทรงของความกว้างที่แน่นอน
อ้างอิง
- Loveland, Walter D. (2005). Modern Nuclear Chemistry. Wiley. p. 232. ISBN .
- M.E. Rose: "Theory of Internal Conversion", in: Alpha-, Beta- and Gamma-Ray Spectroscopy, ed. by Kai Siegbahn, North-Holland Publishing, Amsterdam (1966), Vol. 2
- [1] 2013-11-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Internal conversion branch tables]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karaeplngphayin xngkvs Internal conversion epnkrabwnkar karslayihkmmntrngsi thiemux niwekhliys thithukkratunmiptismphnthaebb aemehlkiffa kbxielktrxnhnungtwinwngokhcrkhxngxatxm thaihxielktrxnthukplxyxxkma phungxxkma cakxatxm dngnninkrabwnkarkaraeplngphayin xielktrxnphlngngansungtwhnungcathukplxyxxkmacakxatxmkmmntrngsi aetimidmacakniwekhliys dwyehtunixielktrxnkhwamerwsungthiekidcakkaraeplngphayincungimich xnuphakhbita enuxngcakxnuphakhbitacatxngmacak karslayihxnuphakhbita odythiphwkmncathuksrangkhunihminkrabwnkarkarslaytwkhxngniwekhliys karaeplngphayincaepnipidemuxidktamthi mikhwamepnipid ykewninkrnithixatxmthukepliynepnixxxnxyangsmburn inrahwangkaraeplngphayin elkhxatxm caimmikarepliynaeplng dngnn xyangthiepnehmuxnkrnikarslaytwidxnuphakhaekmma cungimmikaraeprphnthukhxngxngkhprakxbhnungipepnxikxngkhprakxbhnungekidkhun enuxngcakxielktrxnhnungtwcahayipcakxatxm hlum hole hnungtwkcaippraktinepluxkxielktrxnsungcathuketimetminphayhlngodyxielktrxnxun krabwnkarni caphlit hruxthngsxngxyang xatxmcungpldplxyxielktrxnphlngngansungaelaoftxnrngsiexks aetxnuphakhehlaniimmitwihnelythiekidinniwekhliys odythiniwekhliyscacdhaphlngnganthicaepnihethann enuxngcakphwkxielktrxnhlkcakkaraeplngphayincamichinswn khnadihy thikhngthikhxngphlngngankarslayaebblksnaechphaa phwkmncungmisepktrmphlngnganthiimtxenuxng makkwacamilksnakhxngsepktrmthiaephrkracay txenuxng khxng inkhnathisepktrmphlngngankhxngxnuphakhebtacawadxxkmaepneninkwang sepktrmphlngngankhxngxielktrxncakkaraeplngphayincathukwadxxkmaepnyxdkhmxnediyw dutwxyangdanlang klikinaebbcalxngthangkhnitsastrkhxngklsastrkhwxntmsahrbkrabwnkarkaraeplngphayin khxngxielktrxnthiepluxkchnin pkticaepn s xielktrxn caaethrksumekhaipinenuxkhxng niwekhliys sunghmaykhwamwamikhwamepnipidthiaennxnkhxngkarkhnhaxielktrxnphayinniwekhliys emuxekidehtukarnni xielktrxnxacechuxmipyngsphawakhxngphlngnganthithukkratunkhxngniwekhliysaelaichphlngngancakkarepliynphanniwekhliysodytrng odyprascakrngsiaekmmachwngklangthithukphlitinkhrngaerk phlngnganclnkhxngxielktrxnthithukplxyxxkmacaethakbphlngngankarepliynphaninniwekhliys lbdwyphlngnganyudehniywkhxngxielktrxnthiyudehniywekhakbxatxm xielktrxnthiekidcakkaraeplngphayinswnihycamacakepluxkchn K sthana 1s ephraaxielktrxnsxngtwnimikhwamnacaepnsungsudkhxngkarmixyuphayinniwekhliys xyangirktam sthana s inepluxkchn L M aela N echnsthana 2s 3s aela 4s yngsamarththicaechuxmekhakbsnamniwekhliysaelakxihekidkarpldplxyxielktrxncakkaraeplngphayincakepluxkehlann thieriykwakaraeplngphayincakepluxk L hrux M hrux N xtraswnkhwamepnipidkhxngkaraeplngphayincakepluxk K txepluxk L M hrux N sahrbniwikhldtangidrbkarcdetriymiw phlngnganyudehniywxatxmkhxng s xielktrxnxyangnxytxngthukcayihkbxielktrxnnnephuxthicadidtwmnihxxkcakxatxmephuxthicathaihekidkaraeplngphayin nnkhuxklawidwa karaeplngphayinimsamarthekidkhunidhakphlngngankarslaytwkhxngniwekhliysmiimephiyngphxthicaexachnaphlngnganyudehniyw miniwikhldkmmntrngsiimkitwthiphlngngankarslaytwmiimephiyngphxthicaaeplng didxxk xielktrxn 1s epluxk K hnungtw aelaniwikhldehlani ephuxthicaslaytwodykaraeplngphayin catxngslaytwodykardidxielktrxnxxkcakepluxk L hrux M hrux N klawkhuxodykardidxxkxielktrxn 2s 3s hrux 4s enuxngcakphlngnganyudehniywehlanimikhatalng thungaemwa s xielktrxncamiaenwonmmakkhunsahrbkrabwnkarkaraeplngphayinenuxngcakkaraethrksumaebbniwekhliyrsudyxdkhxngphwkmnemuxethiybkbxielktrxnthimiomemntmechingmuminwngokhcrktam karsuksaekiywkbsepktrmaesdngihehnwa p xielktrxn cakepluxk L aelasungkwa cathukkhbxxkmaepnkhrngkhrawinkrabwnkarkarkaraeplngphayin hlngcakthixielktrxncakkrabwnkarkaraeplngphayinthukplxyxxkma xatxmcathukthingiwaettaaehnngthiwanginhnungkhxngepluxkxielktrxnkhxwmn sungmkcaepnepluxkchnin hlumnicathuketimetmdwyxielktrxncakhnunginepluxkthisungkhunaelasngphlih hrux hnungtwhruxmakkwa cathukplxyxxkmaepnxielktrxnthiehluxxyuinxatxmihllngipephuxaethntaaehnngthiwangtwxyang karslaytwkhxng 203prxthrupaebbkarslaytwkhxng 203Hgsepkhtrmxielktrxnkhxng 203Hg xangthung Wapstra et al Physica 20 1954 169 thangdansayaesdngihehnwa 203prxthcaphlitsepktrmkhxngbitaxyangtxenuxngdwyphlngngansungsud 214 keV thicanaipsu sphawakratunkhxngniwekhliysluksaw 203Tl sthawanicasuyslayerwmak phayin 2 8x10 10 s ipxyuthisphawakrawdkhxng 203Tl pldplxykhwxntmaekmmaxxkmathi 279 keV rupthangdankhwaaesdngihehnwasepkhtrmxielktrxnkhxng 203prxth thithukwdodywithikarkhxngsepkotrmietxraemehlk khuncaehnsepktrmebtathitxenuxngphrxmkbesn K L aela M enuxngcakkaraeplngphayin enuxngcakphlngnganyudehniywkhxng K xielktrxnin 203Tl micanwn 85 keV dngnnesn K camiphlngngan 279 85 194 keV ephraawamiphlngnganyudehniywnxy esn L aela M cungmiphlngngansungkwa enuxngcakkhwamlaexiydphlngnganthiaennxnkhxngekhruxngsepkotrmietxr esn thnghlaycungmirupthrngkhxngkhwamkwangthiaennxnxangxingLoveland Walter D 2005 Modern Nuclear Chemistry Wiley p 232 ISBN 0471115320 M E Rose Theory of Internal Conversion in Alpha Beta and Gamma Ray Spectroscopy ed by Kai Siegbahn North Holland Publishing Amsterdam 1966 Vol 2 1 2013 11 04 thi ewyaebkaemchchin Internal conversion branch tables