การแตกเป็นเสี่ยงโดยรังสีคอสมิก (อังกฤษ: Cosmic ray spallation) เป็นรูปแบบหนึ่งของนิวเคลียร์ฟิชชันและการสังเคราะห์นิวเคลียสที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ มันหมายถึงการก่อตัวขององค์ประกอบจากการกระทบกันของรังสีคอสมิคบนวัตถุ รังสีคอสมิกเป็นอนุภาคที่มีประจุพลังงานสูงจากนอกโลกมีขนาดตั้งแต่โปรตอน, อนุภาคแอลฟา, และนิวเคลียสของธาตุที่หนักกว่าหลายอย่าง ประมาณ 1% ของรังสีคอสมิกยังประกอบด้วยอิเล็กตรอนอิสระหลายตัวอีกด้วย
รังสีคอสมิกทำให้เกิดการแตกเป็นเสี่ยงเมื่ออนุภาคที่เป็นรังสี (เช่นโปรตอน) กระทบกับสสาร รวมถึงรังสีคอสมิกอื่น ๆ ผลจากการปะทะกันเป็นการขับไล่จำนวนมากของนิวคลีออน (โปรตอนและนิวตรอน) ให้ไปจากวัตถุที่ถูกโจมตี กระบวนการนีเกิดขึ้นไม่แต่เพียงในอวกาศที่ลึกเท่านั้น แต่ในบรรยากาศชั้นบนของโลกและพื้นผิวเปลือกโลก (ปกติสูงกว่าสิบเมตร) เนื่องจากผลกระทบอย่างต่อเนื่องของรังสีคอสมิก
การแตกเป็นเสี่ยงโดยรังสีคอสมิกถูกพิจารณาว่าเป็นผู้รับผิดชอบต่อความอุดมสมบูรณ์ในจักรวาลขององค์ประกอบเบาบางอย่างเช่นลิเธียม, เบริลเลียม, และโบรอน กระบวนการนี้ (การสังเคราะห์นิวเคลียสโดยรังสีคอสมิก (อังกฤษ: cosmogenic nucleosynthesis)) ถูกค้นพบโดยอุบัติเหตุในช่วงทศวรรษที่ 1970: แบบจำลองของบิกแบงนิวคลีโอซินทีสิสแนะนำว่าปริมาณของดิวเทอเรียมมีขนาดใหญ่เกินกว่าที่จะสอดคล้องกับอัตราการขยายตัวของจักรวาล เพราะฉะนั้น จึงมีความสนใจอย่างมากในกระบวนการที่สามารถสร้างดิวเทอเรียมหลังจากบิกแบงนิวคลีโอซินทีสิส. การแตกเป็นเสี่ยงโดยรังสีคอสมิกถูกตรวจสอบว่าเป็นกระบวนการที่เป็นไปได้ในการสร้างดิวเทอเรียม เมื่อมันสรุปออกมา การแตกเป็นเสี่ยงไม่สามารถสร้างดิวเทอเรียมได้มากและไม่สามารถทำการสังเคราะห์นิวเคลียสในดวงดาวได้[citation needed] อย่างไรก็ตามการศึกษาครั้งใหม่ของการแตกเป็นเสี่ยงได้แสดงให้เห็นว่ากระบวนการนี้สามารถสร้างลิเธียม, เบริลเลียมและโบรอนได้และแน่นอนไอโซโทปเหล่านี้มีมากกว่าที่แสดงอยู่ในนิวเคลียสของรังสีคอสมิกเมื่อเปรียบเทียบกับบรรยากาศของดวงอาทิตย์ (ในขณะที่ไฮโดรเจนและฮีเลียมมีอยู่ในอัตราส่วนประมาณดั่งเดิมในรังสีคอสมิก)
นอกจากองค์ประกอบเบาดังกล่าวข้างต้น ทริเทียมและไอโซโทปของอลูมิเนียม, คาร์บอน (คาร์บอน-14), คลอรีน, ไอโอดีนและนีออนมีการก่อตัวขึ้นภายในวัสดุระบบสุริยะผ่านการแตกเป็นเสี่ยงโดยรังสีคอสมิก และจะถูกเรียกว่านิวไคลด์ที่เกิดจากรังสีคอสมิก (อังกฤษ: cosmogenic nuclide) เนื่องจากพวกมันยังคงถูกกักอยู่ในชั้นบรรยากาศหรือในหินที่พวกมันก่อตัวขึ้น บางส่วนสามารถจะนำมาใช้ในการหาอายุของวัสดุโดยใช้นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เกิดจากรังสีคอสมิก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านธรณีวิทยา ในการก่อตัวของนิวไคลด์จากรังสีคอสมิก รังสีคอสมิกจะมีปฏิสัมพันธ์กับนิวเคลียสของอะตอมระบบสุริยะในแหล่งกำเนิด ก่อให้เกิดการแตกเป็นเสี่ยงโดยรังสีคอสมิก ไอโซโทปเหล่านี้จะถูกผลิตขึ้นภายในวัสดุโลกเช่นหินหรือดินในชั้นบรรยากาศของโลก และในรายการนอกโลกเช่นอุกกาบาต โดยการวัดไอโซโทปจากรังสีคอสมิก นักวิทยาศาสตร์สามารถที่จะได้รับข้อมูลเชิงลึกในช่วงของกระบวนการทางธรณีวิทยาและดาราศาสตร์ มีทั้งไอโซโทปที่มีกัมมันตรังสีและจากรังสีคอสมิกที่เสถียร บางส่วนของไอโซโทปรังสีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่รู้จักกันดีได้แก่ไอโซโทปคาร์บอน-14 และฟอสฟอรัส-32
ช่วงระยะเวลาของการก่อตัวของพวกมันจะเป็นตัวกำหนดว่ากลุ่มย่อยชุดไหนของนิวไคลด์ที่ก่อตัวจากการแตกเป็นเสี่ยงโดยรังสีคอสมิก ช่วงเวลานั้นจะถูกเรียกว่า ยุคกำเนิดโลก หรือ จากรังสีคอสมิก (อังกฤษ: primordial หรือ cosmogenic) (นิวไคลด์หนึ่งไม่สามารถเป็นได้ทั้งสองอย่าง) โดยการจัดตั้ง นิวไคลด์ที่เสถียรอย่างแน่นอนของลิเธียม, เบริลเลียมและโบรอน ที่ถูกพบบนโลกจะถูกพิจารณาว่าได้มีการผลิตขึ้นโดยการแตกเป็นเสี่ยงโดยรังสีคอสมิกก่อนการก่อตัวของระบบสุริยะ (โดยนิยามจึงเป็นการสร้างนิวไคลด์ในยุคกำเนิดโลกเหล่านี้) และจะไม่ได้ถูกเรียกว่า "จากรังสีคอสมิก" แม้ว่าพวกมันได้มีการก่อตัวขึ้นจากกระบวนการเดียวกันกับนิวไคลด์จากรังสีคอสมิก (แม้ว่าในช่วงเวลาก่อนหน้านี้) ในทางตรงกันข้ามนิวไคลด์กัมมันตรังสีเบริลเลียม-7 ตกอยู่ในช่วงองค์ประกอบเบานี้ แต่นิวไคลด์นี้มีครึ่งชีวิตที่สั้นเกินไปสำหรับมันที่จะมีการก่อตัวขึ้นก่อนที่จะก่อตัวของระบบสุริยะ ดังนั้นมันจึงไม่สามารถเป็นนิวไคลด์ในยุคกำเนิดโลกได้ เนื่องจากเส้นทางการแตกเป็นเสี่ยงโดยรังสีคอสมิกมีแนวโน้มมากที่สุดที่จะเป็นแหล่งที่มาของเบริลเลียม-7 ในสภาพแวดล้อม เพราะฉะนั้นมันจึงเป็นพวกมาจากรังสีคอสมิก
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karaetkepnesiyngodyrngsikhxsmik xngkvs Cosmic ray spallation epnrupaebbhnungkhxngniwekhliyrfichchnaelakarsngekhraahniwekhliysthiekidkhuninthrrmchati mnhmaythungkarkxtwkhxngxngkhprakxbcakkarkrathbknkhxngrngsikhxsmikhbnwtthu rngsikhxsmikepnxnuphakhthimipracuphlngngansungcaknxkolkmikhnadtngaetoprtxn xnuphakhaexlfa aelaniwekhliyskhxngthatuthihnkkwahlayxyang praman 1 khxngrngsikhxsmikyngprakxbdwyxielktrxnxisrahlaytwxikdwy rngsikhxsmikthaihekidkaraetkepnesiyngemuxxnuphakhthiepnrngsi echnoprtxn krathbkbssar rwmthungrngsikhxsmikxun phlcakkarpathaknepnkarkhbilcanwnmakkhxngniwkhlixxn oprtxnaelaniwtrxn ihipcakwtthuthithukocmti krabwnkarniekidkhunimaetephiynginxwkasthilukethann aetinbrryakaschnbnkhxngolkaelaphunphiwepluxkolk pktisungkwasibemtr enuxngcakphlkrathbxyangtxenuxngkhxngrngsikhxsmik karaetkepnesiyngodyrngsikhxsmikthukphicarnawaepnphurbphidchxbtxkhwamxudmsmburninckrwalkhxngxngkhprakxbebabangxyangechnliethiym ebrileliym aelaobrxn krabwnkarni karsngekhraahniwekhliysodyrngsikhxsmik xngkvs cosmogenic nucleosynthesis thukkhnphbodyxubtiehtuinchwngthswrrsthi 1970 aebbcalxngkhxngbikaebngniwkhlioxsinthisisaenanawaprimankhxngdiwethxeriymmikhnadihyekinkwathicasxdkhlxngkbxtrakarkhyaytwkhxngckrwal ephraachann cungmikhwamsnicxyangmakinkrabwnkarthisamarthsrangdiwethxeriymhlngcakbikaebngniwkhlioxsinthisis karaetkepnesiyngodyrngsikhxsmikthuktrwcsxbwaepnkrabwnkarthiepnipidinkarsrangdiwethxeriym emuxmnsrupxxkma karaetkepnesiyngimsamarthsrangdiwethxeriymidmakaelaimsamarththakarsngekhraahniwekhliysindwngdawid citation needed xyangirktamkarsuksakhrngihmkhxngkaraetkepnesiyngidaesdngihehnwakrabwnkarni samarthsrangliethiym ebrileliymaelaobrxnidaelaaennxnixosothpehlanimimakkwathiaesdngxyuinniwekhliyskhxngrngsikhxsmikemuxepriybethiybkbbrryakaskhxngdwngxathity inkhnathiihodrecnaelahieliymmixyuinxtraswnpramandngediminrngsikhxsmik ewxrchnhnungkhxngtarangthatuthirabutnkaenid rwmthngkaraetkepnesiyngodyrngsikhxsmik khxngxngkhprakxb xngkhprakxbthnghmdthisungkwa 103 lxwernesiym epnaebbmnusysrangkhunaelacaimrwmxyuintarangni nxkcakxngkhprakxbebadngklawkhangtn thriethiymaelaixosothpkhxngxlumieniym kharbxn kharbxn 14 khlxrin ixoxdinaelanixxnmikarkxtwkhunphayinwsdurabbsuriyaphankaraetkepnesiyngodyrngsikhxsmik aelacathukeriykwaniwikhldthiekidcakrngsikhxsmik xngkvs cosmogenic nuclide enuxngcakphwkmnyngkhngthukkkxyuinchnbrryakashruxinhinthiphwkmnkxtwkhun bangswnsamarthcanamaichinkarhaxayukhxngwsduodyichniwikhldkmmntrngsithiekidcakrngsikhxsmik odyechphaaxyangyingindanthrniwithya inkarkxtwkhxngniwikhldcakrngsikhxsmik rngsikhxsmikcamiptismphnthkbniwekhliyskhxngxatxmrabbsuriyainaehlngkaenid kxihekidkaraetkepnesiyngodyrngsikhxsmik ixosothpehlanicathukphlitkhunphayinwsduolkechnhinhruxdininchnbrryakaskhxngolk aelainraykarnxkolkechnxukkabat odykarwdixosothpcakrngsikhxsmik nkwithyasastrsamarththicaidrbkhxmulechinglukinchwngkhxngkrabwnkarthangthrniwithyaaeladarasastr mithngixosothpthimikmmntrngsiaelacakrngsikhxsmikthiesthiyr bangswnkhxngixosothprngsithiekidkhuntamthrrmchatithiruckkndiidaekixosothpkharbxn 14 aelafxsfxrs 32 chwngrayaewlakhxngkarkxtwkhxngphwkmncaepntwkahndwaklumyxychudihnkhxngniwikhldthikxtwcakkaraetkepnesiyngodyrngsikhxsmik chwngewlanncathukeriykwa yukhkaenidolk hrux cakrngsikhxsmik xngkvs primordial hrux cosmogenic niwikhldhnungimsamarthepnidthngsxngxyang odykarcdtng niwikhldthiesthiyrxyangaennxnkhxngliethiym ebrileliymaelaobrxn thithukphbbnolkcathukphicarnawaidmikarphlitkhunodykaraetkepnesiyngodyrngsikhxsmikkxnkarkxtwkhxngrabbsuriya odyniyamcungepnkarsrangniwikhldinyukhkaenidolkehlani aelacaimidthukeriykwa cakrngsikhxsmik aemwaphwkmnidmikarkxtwkhuncakkrabwnkarediywknkbniwikhldcakrngsikhxsmik aemwainchwngewlakxnhnani inthangtrngknkhamniwikhldkmmntrngsiebrileliym 7 tkxyuinchwngxngkhprakxbebani aetniwikhldnimikhrungchiwitthisnekinipsahrbmnthicamikarkxtwkhunkxnthicakxtwkhxngrabbsuriya dngnnmncungimsamarthepnniwikhldinyukhkaenidolkid enuxngcakesnthangkaraetkepnesiyngodyrngsikhxsmikmiaenwonmmakthisudthicaepnaehlngthimakhxngebrileliym 7 insphaphaewdlxm ephraachannmncungepnphwkmacakrngsikhxsmikxangxing