บทความนี้ไม่มีจาก |
การปลูกฝี (อังกฤษ: inoculation) เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ใช้ในกันต่อโรคติดเชื้อ โดยบางครั้งอาจมีการใช้คำว่า inoculation ในความหมายเดียวกันกับ vaccination (การให้วัคซีน) และ immunization (การเสริมภูมิคุ้มกัน) อยู่บ้าง อย่างไรก็ดีแต่ละคำมีความหมายในรายละเอียดแตกต่างกันในบางประเด็น โดย inoculation มักมีขั้นตอนของการจงใจทำให้เกิดโรคขึ้นในคนหรือสัตว์
ต้นกำเนิด
แต่ตั้งเดิมแล้ว การปลูกฝีมีที่มาจากการป้องกันโรคฝีดาษ โดยการนำส่วนประกอบของหนองจากฝีของผู้ป่วยโรคฝีดาษมาฝังในผิวหนังของผู้รับการปลูกฝี ทั้งนี้ในยุคนั้น การติดต่อของโรคฝีดาษมักเกิดจากการติดเชื้อผ่านการสูดเอาละอองที่มีเชื้อเข้าไป ทำให้เกิดการติดเชื้อที่เยื่อเมือกของปาก จมูก หรือระบบหายใจ ก่อนที่จะแพร่กระจายไปทั่วร่างกาย ทำให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อผ่านช่องทางนี้มีอาการรุนแรง แตกต่างจากการติดเชื้อที่ผิวหนัง ซึ่งผู้ป่วยมักมีอาการไม่รุนแรงเท่า และมักมีการติดเชื้ออยู่เฉพาะที่ผิวหนัง แต่สามารถกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันได้เหมือนกัน ปัจจุบันวิธีปลูกฝีเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคฝีดาษนี้ เป็นที่รู้จักในชื่อว่า variolation (การปลูกฝีดาษ) โดยการปลูกฝีมีบันทึกย้อนหลังไปในประวัติศาสตร์ทั้งในอินเดีย แอฟริกา และจีน
อ้างอิง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karplukfi xngkvs inoculation epnwithikarxyanghnungthiichinkntxorkhtidechux odybangkhrngxacmikarichkhawa inoculation inkhwamhmayediywknkb vaccination karihwkhsin aela immunization karesrimphumikhumkn xyubang xyangirkdiaetlakhamikhwamhmayinraylaexiydaetktangkninbangpraedn ody inoculation mkmikhntxnkhxngkarcngicthaihekidorkhkhuninkhnhruxstwphaphwadcak kh s 1802 aesdngihehnficakkarplukfidwyechuxfidas phaphsay aelafidasww phaphkhwa thi 16 wn hlngplukfitnkaenidaettngedimaelw karplukfimithimacakkarpxngknorkhfidas odykarnaswnprakxbkhxnghnxngcakfikhxngphupwyorkhfidasmafnginphiwhnngkhxngphurbkarplukfi thngniinyukhnn kartidtxkhxngorkhfidasmkekidcakkartidechuxphankarsudexalaxxngthimiechuxekhaip thaihekidkartidechuxthieyuxemuxkkhxngpak cmuk hruxrabbhayic kxnthicaaephrkracayipthwrangkay thaihphupwythitidechuxphanchxngthangnimixakarrunaerng aetktangcakkartidechuxthiphiwhnng sungphupwymkmixakarimrunaerngetha aelamkmikartidechuxxyuechphaathiphiwhnng aetsamarthkratunihekidphumikhumknidehmuxnkn pccubnwithiplukfiephuxsrangphumikhumkntxorkhfidasni epnthiruckinchuxwa variolation karplukfidas odykarplukfimibnthukyxnhlngipinprawtisastrthnginxinediy aexfrika aelacinxangxingChandrakant Lahariya 2014 A brief history of vaccines amp vaccination in India The Indian Journal of Medical Research Indian Journal of Medical Research 139 4 491 511 PMC 4078488 PMID 24927336