การบันทึกคลื่นไฟฟ้าในสมอง (อังกฤษ: Electroencephalography (EEG)) เป็นวิธีการวัดเพื่อบันทึกกิจกรรมไฟฟ้าในสมอง บริเวณรอบๆหนังศีรษะ การบันทึกคลื่นไฟฟ้าในสมองจะวัดความผันผวนของไฟฟ้าเนื่องมาจากการไหลของประจุไฟฟ้าภายในเซลล์ประสาทของสมอง ในทางคลินิกนั้น การบันทึกคลื่นไฟฟ้าในสมองหมายถึงการบันทึกกิจกรรมทางไฟฟ้าธรรมชาติของสมองในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยใช้ขั้วไฟฟ้าหลายๆอันที่วางอยู่บนหนังศีรษะ In clinical contexts, EEG refers to the recording of the brain's spontaneous electrical activity over a period of time, สำหรับการวินิจฉัยโรคโดยทั่วไปมักจะดูที่สเปกตรัมความถี่ของสัญญาณ หมายถึง คาบการสั่นของเซลล์ประสาทนั้นสามารถสังเกตได้โดยการบันทึกคลื่นไฟฟ้าในสมอง
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง | |
---|---|
การแทรกแซง | |
สัญญาณกระตุกและคลื่นของโรคลมชักที่สังเกตได้จากการบันทึกคลื่นไฟฟ้าในสมอง |
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าในสมองมักจะถูกใช้เพื่อวินิจฉัยโรคลมชักโดยการอ่านคลื่นสัญญาณสมองสามารถสังเกตเห็นความผิดปกติได้ นอกจากนี้ ยังสามารถใช้เพื่อวินิจฉัยหาอาการนอนหลับไม่ปกติ โคม่า โรคสมอง และภาวะสมองตายได้ การบันทึกคลื่นไฟฟ้าในสมองเป็นวิธีการแรกในการเนื้องอกในสมองและโรคหลอดเลือดสมองรวมถึงการทำงานของสมองที่ผิดปกติอื่นๆ แต่โรคเหล่านี้มักจะต้องตรวจซ้ำด้วยเครื่องมือที่แม่นยำกว่า เช่น การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก หรือ การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ แม้การบันทึกคลื่นไฟฟ้าในสมองจะให้ข้อมูลไม่ละเอียดในเชิงพื้นที่ แต่ความละเอียดด้านเวลาก็ทำให้วิธีการนี้เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการวิจัยและวินิจฉัยบางชนิด โดยเฉพาะการศึกษาที่ต้องใช้ความละเอียดของเวลาระดับมิลลิวินาที
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าในสมอง สามารถดัดแปลงเทคนิคได้หลายหลาย ไม่ว่าจะเป็นการตรวจ (Evoked potential) หรือการตรวจ (Event-related potential) อันเป็นเทคนิคที่ใช้กันมากในทางประชานศาสตร์ และ
การใช้ในเชิงคลินิก
การวัดคลื่นสมองในคลินิกปกติจะใช้เวลารวมกับขั้นตอนการเตรียมประมาณ 20-30 นาที การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองถูกใช้ในเชิงคลินิกดังนี้
- เพื่อแยกแยะการชักจากโรคอื่นๆ เช่น การชักแบบดิสโซสิเอทีฟ การหมดสติชั่วคราว ความผิดปกติในทางการเคลื่อนไหว และโรคไมเกรน
- เพื่อแยกแยะโรคสมองหรืออาการเพ้อจากโรคจิตเภทอื่นๆ เช่น อาการเคลื่อนไหวน้อยหรือมากเกิน
- เพื่อทดสอบภาวะสมองตาย
- เพื่อพยากรณ์อาการโคม่าของผู้ป่วยล่วงหน้า
- เพื่อตัดสินใจว่าถึงเวลาหยุดยารักษาโรคลมชักแล้วหรือไม่
ในหลายๆกรณี การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองแบบปกติอาจจะไม่เพียงพอ โดยเฉพาะในกรณีที่ต้องการวัดคลื่นสมองในขณะที่ผู้ป่วยเกิดการชัก ในกรณีนี้ ผู้ป่วยจะต้องเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในที่โรงพยาบาลหลายวันหรือหลายคืนโดยมีการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองตลอดเวลา วิธีนี้จะทำให้แพทย์ได้ข้อมูลที่แม่นยำขึ้นว่าสมองส่วนใดที่เป็นต้นเหตุของโรคลมชัก และจะได้ศึกษาและวินิจฉัยเฉพาะจุดนั้นเป็นพิเศษ เพื่อการผ่าตัดและรักษาที่ถูกต้องต่อไป
หากแพทย์วินิจฉัยว่าผู้ป่วยโรคลมชักจะต้องเข้ารับการผ่าตัด มักจะต้องมีการหาจุดที่ก่อให้เกิดโรคลมชักที่แม่นยำเชิงพื้นที่กว่าการวัดที่หนังศีรษะ เนื่องจากน้ำหล่อสมองไขสันหลัง กะโหลกศีรษะ และหนังศีรษะอาจจะทำให้ศักย์ไฟฟ้าจากสมองถูกบิดเบือนได้ ในกรณีนี้ แพทย์มักจะผ่าตัดและฝังขั้วไฟฟ้าไว้ใต้เยื่อดูราของสมอง วิธีการนี้เรียกว่าวิธี (Electrocorticography หรือ ECoG) สัญญาณจากการวัดโดยตรงมีความแตกต่างกับสัญญาณที่วัดได้ที่บริเวณหนังศีรษะ สามารถมองเห็นคลื่นศักย์ต่ำ ความถี่สูงที่ปกติจะมองไม่เห็นในระดับหนังศีรษะได้ด้วย นอกจากนั้น ขั้วไฟฟ้าของการวันสัญญาณโดยตรงนั้นยังมีขนาดเล็กกว่า ทำให้ใช้ศักย์ไฟฟ้าน้อยกว่าและวัดได้ละเอียดในเชิงเวลามากกว่า
การใช้ในเชิงวิจัย
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองและการตรวจโดยใช้คลื่นสมอง ถูกใช้กันมากในงานวิจัยทางประสาทวิทยาศาสตร์ ประชานศาสตร์ และ
ข้อดี
การบันทึกกิจกรรมสมองสามารถทำได้หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการสร้างภาพโดยกิจด้วยเรโซแนนท์แม่เหล็ก (fMRI) การถ่ายภาพรังสีระนาบด้วยการปล่อยโพซิตรอน (PET) (MEG) (NMR ) (ECoG) (SPET) และ (NIRS) แต่การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองก็มีข้อดีกว่าวิธีการเหล่านี้คือ
- ต้นทุนด้านอุปกรณ์ต่ำกว่าวิธีอื่นมาก
- การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองสามารถทำได้ง่ายและรวดเร็วกว่า ทำให้สามารถรักษาได้อย่างทันท่วงดี โดยเฉพาะในโรงพยาบาลที่มีผู้ป่วยมาก
- เซนเซอร์ของการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองใช้พื้นที่ไม่มากเมื่อเทียบกับวิธี fMRI SPECT PET MRS หรือ MEG ที่ต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่และมีการติดตั้งที่ยากลำบาก
- การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองมีความละเอียดเชิงเวลาที่สูงมาก อยู่ในระดับมิลลิวินาที ขณะที่หลายวิธีสามารถบันทึกด้วยความละเอียดระดับวินาทีเท่านั้น ความถี่ของการบันทึกคลื่นไฟฟ้า อัตราการดึงตัวอย่างข้อมูลของการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองอยู่ที่ประมาณ 200 ถึง 2000 ครั้งต่อวินาที
- การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองมีความทนต่อการเคลื่อนไหวของคนสูง และยังมีวิธีการสำหรับการลดหรือกำจัดผลกระทบจากการเคลื่อนไหวที่เข้ามาทำให้สัญญาณผิดเพี้ยนไปจากความจริงด้วย
- การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองสามารถใช้ได้กับผู้ป่วยที่เป็น
- การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองเป็นวิธีที่ไม่ต้องอาศัยการผ่าตัด
ข้อด้อย
- การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองมีความละเอียดเชิงพื้นที่ต่ำ เมื่อเทียบกับบางวิธีการ เช่น fMRI ที่สามารถระบุได้ว่าสมองส่วนใดที่เกิดกิจกรรมอยู่ ในขณะที่การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองจะต้องมีการแปรผลว่าสมองส่วนใดกำลังทำงานอยู่โดยอ้างตามสมมติฐานต่างๆที่ตั้งขึ้น
- การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองไม่สามารถวัดกิจกรรมในสมองส่วนที่อยู่ลึกไปกว่าชั้นบน(คอร์เท็กซ์)ได้ดี
- การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองสามารถระบุตำแหน่งที่สมองมีกิจกรรมมากขึ้นได้เพียงแค่บางส่วนเท่านั้น
- หากต้องการให้มีการบันทึกคลื่นไฟฟ้าที่แม่นยำมากขึ้น การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองจะต้องใช้เวลาในการติดตั้งตำแหน่งของขั้วไฟฟ้าให้ถูกต้อง ใช้เจล สารละลาย หรือวิธีการอื่นๆหลายชนิดเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของสัญญาณ ในกรณีนี้ เมื่อเทียบกับอวิธีการอื่นๆ MEG fMRI MRS และ SPECT ถือว่าการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองใช้เวลาเตรียมตัวนานกว่า
- อัตราของสัญญาณจริงต่อสัญญาณรบกวนต่ำ ต้องใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงและต้องทดลองหลายครั้งจึงจะได้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์จากการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง
อ้างอิง
- Niedermeyer E. and da Silva F.L. (2004). Electroencephalography: Basic Principles, Clinical Applications, and Related Fields. Lippincot Williams & Wilkins. ISBN .
- Atlas of EEG & Seizure Semiology. B. Abou-Khalil; Musilus, K.E.; Elsevier, 2006.
- "EEG".
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karbnthukkhluniffainsmxng xngkvs Electroencephalography EEG epnwithikarwdephuxbnthukkickrrmiffainsmxng briewnrxbhnngsirsa karbnthukkhluniffainsmxngcawdkhwamphnphwnkhxngiffaenuxngmacakkarihlkhxngpracuiffaphayinesllprasathkhxngsmxng inthangkhliniknn karbnthukkhluniffainsmxnghmaythungkarbnthukkickrrmthangiffathrrmchatikhxngsmxnginchwngewlaidewlahnungodyichkhwiffahlayxnthiwangxyubnhnngsirsa In clinical contexts EEG refers to the recording of the brain s spontaneous electrical activity over a period of time sahrbkarwinicchyorkhodythwipmkcaduthisepktrmkhwamthikhxngsyyan hmaythung khabkarsnkhxngesllprasathnnsamarthsngektidodykarbnthukkhluniffainsmxngkarbnthukkhluniffasmxngkaraethrkaesngsyyankratukaelakhlunkhxngorkhlmchkthisngektidcakkarbnthukkhluniffainsmxng karbnthukkhluniffainsmxngmkcathukichephuxwinicchyorkhlmchkodykarxankhlunsyyansmxngsamarthsngektehnkhwamphidpktiid nxkcakni yngsamarthichephuxwinicchyhaxakarnxnhlbimpkti okhma orkhsmxng aelaphawasmxngtayid karbnthukkhluniffainsmxngepnwithikaraerkinkarenuxngxkinsmxngaelaorkhhlxdeluxdsmxngrwmthungkarthangankhxngsmxngthiphidpktixun aetorkhehlanimkcatxngtrwcsadwyekhruxngmuxthiaemnyakwa echn karsrangphaphdwyerosaennsaemehlk hrux karthayphaphrngsiswntdxasykhxmphiwetxr aemkarbnthukkhluniffainsmxngcaihkhxmulimlaexiydinechingphunthi aetkhwamlaexiyddanewlakthaihwithikarniepnwithithimiprasiththiphaphinkarwicyaelawinicchybangchnid odyechphaakarsuksathitxngichkhwamlaexiydkhxngewlaradbmilliwinathi karbnthukkhluniffainsmxng samarthddaeplngethkhnikhidhlayhlay imwacaepnkartrwc Evoked potential hruxkartrwc Event related potential xnepnethkhnikhthiichknmakinthangprachansastr aelakarichinechingkhlinikAn EEG recording setup karwdkhlunsmxnginkhlinikpkticaichewlarwmkbkhntxnkaretriympraman 20 30 nathi karbnthukkhluniffasmxngthukichinechingkhlinikdngni ephuxaeykaeyakarchkcakorkhxun echn karchkaebbdisossiexthif karhmdstichwkhraw khwamphidpktiinthangkarekhluxnihw aelaorkhimekrn ephuxaeykaeyaorkhsmxnghruxxakarephxcakorkhcitephthxun echn xakarekhluxnihwnxyhruxmakekin ephuxthdsxbphawasmxngtay ephuxphyakrnxakarokhmakhxngphupwylwnghna ephuxtdsinicwathungewlahyudyarksaorkhlmchkaelwhruxim inhlaykrni karbnthukkhluniffasmxngaebbpktixaccaimephiyngphx odyechphaainkrnithitxngkarwdkhlunsmxnginkhnathiphupwyekidkarchk inkrnini phupwycatxngekharbkarrksaepnphupwyinthiorngphyabalhlaywnhruxhlaykhunodymikarbnthukkhluniffasmxngtlxdewla withinicathaihaephthyidkhxmulthiaemnyakhunwasmxngswnidthiepntnehtukhxngorkhlmchk aelacaidsuksaaelawinicchyechphaacudnnepnphiess ephuxkarphatdaelarksathithuktxngtxip hakaephthywinicchywaphupwyorkhlmchkcatxngekharbkarphatd mkcatxngmikarhacudthikxihekidorkhlmchkthiaemnyaechingphunthikwakarwdthihnngsirsa enuxngcaknahlxsmxngikhsnhlng kaohlksirsa aelahnngsirsaxaccathaihskyiffacaksmxngthukbidebuxnid inkrnini aephthymkcaphatdaelafngkhwiffaiwiteyuxdurakhxngsmxng withikarnieriykwawithi Electrocorticography hrux ECoG syyancakkarwdodytrngmikhwamaetktangkbsyyanthiwdidthibriewnhnngsirsa samarthmxngehnkhlunskyta khwamthisungthipkticamxngimehninradbhnngsirsaiddwy nxkcaknn khwiffakhxngkarwnsyyanodytrngnnyngmikhnadelkkwa thaihichskyiffanxykwaaelawdidlaexiydinechingewlamakkwakarichinechingwicykarbnthukkhluniffasmxngaelakartrwcodyichkhlunsmxng thukichknmakinnganwicythangprasathwithyasastr prachansastr aela khxdi karbnthukkickrrmsmxngsamarththaidhlaywithi imwacaepnkarsrangphaphodykicdwyerosaennthaemehlk fMRI karthayphaphrngsiranabdwykarplxyophsitrxn PET MEG NMR ECoG SPET aela NIRS aetkarbnthukkhluniffasmxngkmikhxdikwawithikarehlanikhux tnthundanxupkrntakwawithixunmak karbnthukkhluniffasmxngsamarththaidngayaelarwderwkwa thaihsamarthrksaidxyangthnthwngdi odyechphaainorngphyabalthimiphupwymak esnesxrkhxngkarbnthukkhluniffasmxngichphunthiimmakemuxethiybkbwithi fMRI SPECT PET MRS hrux MEG thitxngichphunthikhnadihyaelamikartidtngthiyaklabak karbnthukkhluniffasmxngmikhwamlaexiydechingewlathisungmak xyuinradbmilliwinathi khnathihlaywithisamarthbnthukdwykhwamlaexiydradbwinathiethann khwamthikhxngkarbnthukkhluniffa xtrakardungtwxyangkhxmulkhxngkarbnthukkhluniffasmxngxyuthipraman 200 thung 2000 khrngtxwinathi karbnthukkhluniffasmxngmikhwamthntxkarekhluxnihwkhxngkhnsung aelayngmiwithikarsahrbkarldhruxkacdphlkrathbcakkarekhluxnihwthiekhamathaihsyyanphidephiynipcakkhwamcringdwy karbnthukkhluniffasmxngsamarthichidkbphupwythiepn karbnthukkhluniffasmxngepnwithithiimtxngxasykarphatdkhxdxy karbnthukkhluniffasmxngmikhwamlaexiydechingphunthita emuxethiybkbbangwithikar echn fMRI thisamarthrabuidwasmxngswnidthiekidkickrrmxyu inkhnathikarbnthukkhluniffasmxngcatxngmikaraeprphlwasmxngswnidkalngthanganxyuodyxangtamsmmtithantangthitngkhun karbnthukkhluniffasmxngimsamarthwdkickrrminsmxngswnthixyulukipkwachnbn khxrethks iddi karbnthukkhluniffasmxngsamarthrabutaaehnngthismxngmikickrrmmakkhunidephiyngaekhbangswnethann haktxngkarihmikarbnthukkhluniffathiaemnyamakkhun karbnthukkhluniffasmxngcatxngichewlainkartidtngtaaehnngkhxngkhwiffaihthuktxng ichecl sarlalay hruxwithikarxunhlaychnidephuxprbprungprasiththiphaphkhxngsyyan inkrnini emuxethiybkbxwithikarxun MEG fMRI MRS aela SPECT thuxwakarbnthukkhluniffasmxngichewlaetriymtwnankwa xtrakhxngsyyancringtxsyyanrbkwnta txngichwithikarwiekhraahkhxmulkhnsungaelatxngthdlxnghlaykhrngcungcaidkhxmulthithuktxngaelaepnpraoychncakkarbnthukkhluniffasmxngxangxingNiedermeyer E and da Silva F L 2004 Electroencephalography Basic Principles Clinical Applications and Related Fields Lippincot Williams amp Wilkins ISBN 0 7817 5126 8 Atlas of EEG amp Seizure Semiology B Abou Khalil Musilus K E Elsevier 2006 EEG