การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน คือการพัฒนาและทวีกำลังแรงขึ้นของพายุหมุนเขตร้อนในบรรยากาศ โดยกลไกที่เกิดขึ้นของการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน มีความแตกต่างกับกลไกการเกิดของการกำเนิดพายุหมุนละติจูดกลาง โดยการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนจะเกี่ยวข้องกับแกนอบอุ่น เนื่องจากการพาความร้อนอย่างมีนัยสำคัญในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม ซึ่งต้องการความต้องการหลักหกประการ ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลที่อบอุ่นพอ ความไม่แน่นอนในชั้นบรรยากาศ ความชื้นสูงในโทรโพสเฟียร์ระดับต่ำถึงกลาง มีอย่างเพียงพอในการพัฒนาของศูนย์กลางความกดอากาศต่ำ พื้นที่ระดับต่ำหรือหย่อมความกดอากาศต่ำที่มีอยู่เดิม และลมเฉือนแนวตั้งระดับต่ำ
พายุหมุนเขตร้อนมีแนวโน้มที่จะพัฒนาในช่วงฤดูร้อน แต่ก็ยังได้รับการตั้งข้อสังเกตกับแอ่งที่มีพายุเกิดมากที่สุด ซึ่งมีแนวโน้มในทุกเดือน วัฎจักรภูมิอากาศ อย่างเช่น ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้-เอลนีโญ (ENSO) และ สามารถปรับระยะเวลาและความถี่ในการพัฒนาของพายุหมุนเขตร้อนได้ ข้อจำกัดความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อน เกี่ยวข้องอย่างยิ่งกับอุณหภูมิของน้ำในระหว่างทางที่พายุเคลื่อนผ่าน โดยเฉลี่ยทั่วโลก มีพายุหมุนเขตร้อนในระดับพายุโซนร้อน 86 ลูกทุกปี ในจำนวนนั้นทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่น/พายุเฮอร์ริเคน 47 ลูก และ 20 ลูกเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรง (อย่างน้อยมีความรุนแรงระดับ 3 ตามมาตราเฮอร์ริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน)
ความต้องการสำหรับการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน
มีความต้องการหลักหกประการ ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลที่อบอุ่นพอ ความไม่แน่นอนในชั้นบรรยากาศ ความชื้นสูงในโทรโพสเฟียร์ระดับต่ำถึงกลาง มีอย่างเพียงพอในการพัฒนาของศูนย์กลางความกดอากาศต่ำ พื้นที่ระดับต่ำหรือหย่อมความกดอากาศต่ำที่มีอยู่เดิม และลมเฉือนแนวตั้งระดับต่ำ แม้เงื่อนไขเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ว่าจะมีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นเสมอไป
น้ำอุ่น การไร้เสถียรภาพ และความชื้นที่ความสูงระดับกลาง
โดยปกติ น้ำทะเลที่อุณหภูมิ 26.5 °ซ (79.7 °ฟ) ที่ทอดตัวตลอดแนวและมีความลึกอย่างน้อย 50 เมตร ถือว่าเป็นขั้นต่ำของการบำรุงรักษา (ระบบอากาศแบบหมุนวน) แบบพิเศษ นั้นคือพายุหมุนเขตร้อน น้ำอุ่นเหล่านี้มีความจำเป็นในการใช้บำรุงรักษาแกนอบอุ่นในฐานะเชื้อเพลิงของระบบ ซึ่งอุณหภูมินี้ดีกว่า 16.1 °ซ (60.9 °ฟ) ที่เป็นอุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวมหาสมุทรทั่วโลก อย่างไรก็ตาม ความต้องการเหล่านี้เป็นเพียงพื้นฐานทั่วไป เพราะถือว่าสภาพแวดล้อมโดยรอบบริเวณเป็นตัวเสนอโดยเฉลี่ย[]
พายุหมุนเขตร้อนรู้จักจัดรูปแบบแม้ในสภาวะปกติที่ไม่อาจพบได้ ตัวอย่าง อากาศที่มีอุณหภูมิเย็นที่ระดับความสูงที่สูงขึ้น (เช่น ณ ระดับความสูง 500 hPa หรือ 5.9 กม.) สามารถก่อให้เกิดการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนที่อุณหภูมิน้ำทะเลต่ำกว่า ในขณะที่อัตราการลดลงของอุณหภูมิแน่นอน เป็นสิ่งจำเป็นที่จะทำให้ชั้นบรรยากาศเกิดความอย่างเพียงพอสำหรับการพาความร้อน ในชั้นบรรยากาศที่ชื้น อัตราการลดลงของอุณหภูมิคือ 6.5 °ซ/กม. ขณะที่ในชั้นบรรยากาศมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำกว่า 100% ความต้องการอัตราการลดลงของอุณหภูมิคือ 9.8 °ซ/กม.
ที่ระดับความสูง 500 hPa อุณหภูมิเฉลี่ยในชั้นบรรยากาศภายในเขตร้อนคือ −7°ซ (18°ฟ) แต่อากาศในเขตร้อนโดยปกติมักจะแห้งที่ระดับความสูงนี้ ทำให้อากาศปกติเป็น หรือเย็นจนมันชื้น เพื่อเป็นอุณหภูมิที่ดีขึ้นนั้นสามารถรองรับการพาความร้อนได้ อุณหภูมิกระเปาะเปียกที่ความสูง 500 hPa ในเขตร้อนคือ 26.5°ซ และอุณหภูมินี้ต้องการการเพิ่มขึ้นหรือลงลงตามส่วน 1°ซ ในอุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเล สำหรับ 1°ซ การเปลี่ยนแปลงที่ 500 hPa ภายใต้ไซโคลนอันหนาวเย็น อุณหภูมิที่ 500 hPa สามารถลดลงต่ำสุดไปได้ที่ −30°ซ ซึ่งสามารถชักนำการพาความร้อน แม้อยู่ในบรรยากาศที่แห้งแล้งที่สุด นอกจากนี้ยังอธิบายว่าทำไมความขื้นในระดับกลางของโทรโพสเฟียร์ ประมาณ 500 hPa นั้นเป็นความจำเป็นปกติสำหรับการพัฒนาพายุหมุน อย่างไรก็ตาม เมื่อพบอากาศแห้งที่ความสูงเดียวกัน อุณหภูมิที่ระดับ 500 hPa นั้นต้องการที่จะเย็นลงเป็นบรรยากาศที่แห้ง เพื่อให้เกิดอัตราการลดลงของอุณหภูมิ (Lapse rate) ขนาดใหญ่สำหรับความไม่แน่นอนกว่าบรรยากาศที่ชื้น ที่ความสูงใกล้กับโทรโพพอส ค่าอุณหภูมิโดยเฉลี่ย 30 ปี (ในการตรวจวัดในช่วงที่ครอบคลุมตั้งแต่ปี 2504 ถึง 2533) คือ −77°ซ (−132°ฟ) ตัวอย่างของพายุหมุนเขตร้อนในปัจจุบันที่รักษาตัวมันเองไว้บนน้ำที่เย็นได้คือ ใน
บทบาทของความรุนแรงสูงสุดที่อาจจะเกิดขึ้น (MPI)
ศาสตราจารย์ด้านอุตุนิยมวิทยาชาวอเมริกัน ได้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ขึ้นเมื่อราวปี 2531 ในการคำนวณขีดจำกัดสูงสุดของความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อน โดยตั้งอยู่บนอุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลและโครงร่างเกี่ยวกับบรรยากาศ จาก แบบจำลองของเอมานูเอลนี้เรียกว่า (ความรุนแรงสูงสุดที่อาจจะเกิดขึ้น) (Maximum potential intensity) หรือ MPI ซึ่งแผนที่ที่ถูกสร้างขึ้นจากสมการนั้น แสดงภูมิภาคที่พายุโซนร้อนและพายุหมุนเขตร้อนมีความเป็นไปได้ว่าจะก่อตัวขึ้น ขึ้นอยู่กับอุณหพลศาสตร์ของบรรยากาศในเวลาของการดำเนินแบบจำลองล่าสุด (เช่น 0000 หรือ 1200 UTC) โดยไม่ได้คำนึงถึงลมเฉือนแนวตั้ง
แรงคอริออลิส
ระยะห่างน้อยที่สุด 500 กิโลเมตร (310 ไมล์) จากเส้นศูนย์สูตรนั้นเป็นปกติสำหรับความต้องการในการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนแรงคอริออลิสบอกให้รู้การหมุนบนกระแสอากาศ และเกิดเป็นลมเพื่อไหลไปทางความกดอากาศต่ำที่ถูกสร้างขึ้นโดยความหย่อมความกดอากาศต่ำที่มีอยู่ก่อน (Pre-existing disturbance) ในพื้นที่ขนาดเล็กมากหรือไม่มีแรงคอริออลิสอยู่ (เช่น ใกล้กับเส้นศูนย์สูตร) เฉพาะแรงบรรยากาศนัยสำคัญเท่านั้นที่สามารถเล่นกับแรงความดันลาดชัน (Pressure gradient force) ได้ (ความกดอากาศที่ต่างกันนั้นเป็นสาเหตุให้ลมพัดจากความกดอากาศสูงไปหาต่ำ) และแรงเสียดทานขนาดเล็ก ทั้งสองนี้อย่างใดอย่างหนึ่งจะไม่เป็นสาเหตุให้เกิดการหมุนในขนาดใหญ่สำหรับการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน การดำรงอยู่ของแรงคอริออลิสอย่างมีนัยสำคัญจะเปิดทางให้เกิดการก่อตัวลมหมุนวนเพื่อให้บรรลุผลความสมดุลลมแนวลาด ความสมดุลเงื่อนไขนี้พบได้ในพายุหมุนเขตร้อนที่เจริญเต็มที่ นั่นจะช่วยความร้อนแฝงจำเพาะมุ่งไปใกล้กับแกนของพายุ นี่เป็นผลในบำรุงรักษาหรือการเพิ่มความรุนแรงของลมหมุนวน ถ้าปัจจัยในการก่อตัวอื่น ๆ นั้นว่าง
ลมเฉือนแนวตั้งกำลังอ่อน
ลมเฉือนแนวตั้งที่มีความเร็วน้อยกว่า 10 ม./ว. (20 นอต) ระหว่างพื้นผิวกับโทรโพพอสนั้นเหมาะกับการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน โดยลมเฉือนแนวตั้งที่มีกำลังอ่อนนี้จะทำให้พายุเติบโตได้อย่างรวดเร็วในแนวตั้งในอากาศ ซึ่งจะช่วยให้พายุก่อตัวและแข็งแรงขึ้น ถ้าลมเฉือนแนวตั้งมีกำลังแรงเกินไป พายุจะไม่สามารถโตขึ้นได้อย่างเต็มศักยภาพและพลังงานของมันจะเริ่มแผ่ขยายออกไป จนพื้นที่นั้นกว้างเกินกว่าที่พายุจะมีกำลังมากขึ้นได้ ลมเฉือนสามารถ "พัด" ให้พายุหมุนเขตร้อนแยกออกจากกันได้ เนื่องจากมันจะไปแทนที่แกนอบอุ่นระดับกลางจากการหมุนเวียนที่พื้นผิว และหยุดระดับกลางของโทรโพพอสซึ่งจะหยุดการพัฒนาของพายุ ในระบบขนาดเล็กกว่า การพัฒนาของ (Mesoscale convective complex) นัยสำคัญในสิ่งแวดล้อมที่ขาด สามารถส่งขอบเขตการไหลออกขนาดใหญ่พอออกไปเพื่อทำลายพื้นผิวของพายุหมุนได้ โดยลมเฉือนกำลังปานกลางนั้นสามารถนำไปสู่การพัฒนาทั้งขั้นต้นของการพาความร้อนซับซ้อน และความกดอากาศต่ำพื้นผิวคล้ายกับมิดละติจูดได้ แต่มันต้องลดความตึงลงเพื่อเปิดทางให้การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนนั้นดำเนินต่อ
ปฏิกิริยาร่องความกดอากาศต่ำที่เป็นประโยชน์
แรงเฉือนของลมเฉือนแนวตั้งที่อยู่ในระดับจำกัด อาจส่งผลดีต่อการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนได้ เมื่อความกดอากาศต่ำชั้นบนหรือหย่อมความกดอากาศชั้นบนที่มีขนาดใกล้เคียงกับหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง ซึ่งระบบจะสามารถถูกคัดท้าย (steered) โดยระบบที่อยู่ในชั้นบนให้เข้าสู่พื้นที่ที่มีขึ้นสู่ด้านบนที่ดีกว่าได้ ซึ่งสามารถทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นของพายุต่อไป โดยลมหมุนชั้นบนที่มีกำลังอ่อนจะเป็นผลที่ดีในปฏิกิริยาที่เป็นประโยชน์นี้ ทั้งนี้มีหลักฐานว่าพายุหมุนเขตร้อนที่ถูกกระทำโดยลมเฉือนกำลังอ่อนในตอนแรก จะพัฒนาได้รวดเร็วกว่าพายุหมุนเขตร้อนที่ไม่ถูกพัดเฉือน แม้ว่าการนั้นจะนำมาซึ่งความรุนแรงสูงสุดโดยความเร็วลมสูงสุดที่อ่อนกว่า และความกดอากาศต่ำที่สุดที่สูงกว่าก็ตาม กระบวนการเช่นนี้ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ การบารอคลินิกอินิชิเอชัน (baroclinic initiation) ของพายุหมุนเขตร้อนอีกด้วย โดยเป็นการเคลื่อนอย่างช้า ๆ (trailing) ของลมหมุนชั้นบนและร่องความกดอากาศต่ำชั้นบน ซึ่งสามารถทำให้เกิดช่องกระแสอากาศไหลออกเพิ่มเติมได้ และช่วยให้เกิดกระบวนการการทวีกำลังแรงขึ้น การพัฒนาของหย่อมความกดอากาศต่ำนี้ สามารถช่วยสร้างหรือทำให้ร่องหรือหย่อมความกดอากาศต่ำชั้นบนลึกขึ้นได้ เนื่องจากกระแสอากาศไหลออกที่ออกมาจากการพัฒนาของตัวหย่อมความกดอากาศต่ำหรือพายุหมุนเขตร้อนเอง
มีหลายกรณีที่ร่องความกดอากาศต่ำละติจูดกลางขนาดใหญ่ สามารถช่วยในการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนได้ เมื่อกระแสลมกรดชั้นบนผ่านไปทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของการพัฒนาของระบบ ซึ่งจะช่วยให้เกิดการลู่ออกขึ้นสู่ด้านบน และการไหลเข้าที่พื้นผิวเพื่อหมุนพายุหมุนเขตร้อน ปฏิสัมพันธ์ประเภทนี้มักเกี่ยวข้องกับความกดอากาศต่ำที่มีอยู่แล้วในกระบวนการเลี้ยวกลับ (recurvature)
เวลาในการก่อตัว
ในทั่วโลก กิจกรรมพายุหมุนเขตร้อนจะถึงค่าสูงสุดในช่วงฤดูร้อน เมื่ออุณหภูมิของน้ำทะเลอุ่นที่สุดในแต่ละแอ่ง อย่างไรก็ตาม แต่ละแอ่งจะมีรูปแบบฤดูกาลเป็นของตัวเอง ในระดับโลก เดือนพฤษภาคมเป็นเดือนที่มีกิจกรรมน้อยที่สุด ขณะที่เดือนกันยายนจะเป็นช่วงที่มีกิจกรรมมากที่สุด
ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนจะปรากฏขึ้นอย่างชัดเจนตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน ถึง 30 พฤศจิกายน โดยมีช่วงที่มีกิจกรรมมากสุดในปลายเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม ค่าสูงสุดทางสถิติของฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติกอยู่ในวันที่ 10 กันยายน ส่วนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกเฉียงเหนือ มีกรอบเวลาของกิจกรรมที่กว้างกว่า แต่ก็อยู่ในช่วงเวลาอันใกล้เคียงกับมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ส่วนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกสามารถเห็นพายุหมุนเขตร้อนได้ตลอดทั้งปี มีค่ากิจกรรมน้อยที่สุดในเดือนกุมภาพันธ์ และค่ามากสุดในเดือนกันยายน ส่วนในมหาสมุทรอินเดียเหนือ โดยทั่วไปแล้วจะมีพายุได้ในช่วงเดือนเมษายนถึงธันวาคม โดยมีค่ามากสุดในเดือนพฤษภาคมและพฤศจิกายน
ในซีกโลกใต้ กิจกรรมพายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปจะเริ่มขึ้นในเดือนพฤศจิกายน และจะจบลงในวันที่ 30 เมษายน กิจกรรมของซีกโลกใต้จะมากที่สุดในช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคม กิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนในซีกโลกใต้จะอยู่บริเวณตั้งแต่แนวชายฝั่งทวีปแอฟริกาตอนใต้ไปทางตะวันออก จนถึงทวีปอเมริกาใต้ แต่พายุหมุนเขตร้อนเป็นเหตุการณ์ที่หาพบได้ยากในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ และในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกเฉียงใต้ไกล
ค่าเฉลี่ยและความยาวฤดูกาล | |||||
---|---|---|---|---|---|
แอ่ง | เริ่มฤดู | สิ้นสุดฤดู | จำนวนพายุหมุนเขตร้อน | อ้างอิง | |
แอตแลนติกเหนือ | 1 มิถุนายน | 30 พฤศจิกายน | 14.4 | ||
แปซิฟิกตะวันออก | 15 พฤษภาคม | 30 พฤศจิกายน | 16.6 | ||
แปซิฟิกตะวันตก | 1 มกราคม | 31 ธันวาคม | 26.0 | ||
มหาสมุทรอินเดียเหนือ | 1 มกราคม | 31 ธันวาคม | 12 | ||
มหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ | 1 กรกฎาคม | 30 มิถุนายน | 9.3 | ||
ภูมิภาคออสเตรเลีย | 1 พฤศจิกายน | 30 เมษายน | 11.0 | ||
แปซิฟิกใต้ | 1 พฤศจิกายน | 30 เมษายน | 7.1 | ||
ทั่วโลก | 96.4 |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ภูมิอากาศวิทยาและอุตุนิยมวิทยาอาร์กติก (Arctic Climatology and Meteorology). . ศูนย์ข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-08-30. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม ค.ศ. 2006.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - โกลเดนเบิร์ก, สตัน (13 สิงหาคม ค.ศ. 2004). "พายุหมุนนอกเขตร้อนคืออะไร (What is an extra-tropical cyclone?)". คำถามที่พบบ่อย: พายุเฮอร์ริเคน, พายุไต้ฝุ่น และพายุไซโคลน. , แผนกงานวิจัยพายุเฮอร์ริเคน. สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม ค.ศ. 2008.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
((help)) - . "พายุหมุนเขตร้อนก่อตัวอย่างไร (How do tropical cyclones form?)". คำถามที่พบบ่อย: พายุเฮอร์ริเคน, พายุไต้ฝุ่น และพายุไซโคลน. . สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 2006.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - แลนด์ซี, คริสโตเฟอร. "เอกสารการแปรปรวนในสภาพภูมิอากาศของพายุหมุนเขตร้อน (AOML Climate Variability of Tropical Cyclones paper)". ห้องปฏิบัติการด้านอุตุนิยมวิทยาและสมุทรศาสตร์แอตแลนติก. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน ค.ศ. 2010.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - . UAE. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-09. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน ค.ศ. 2010.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - เบิร์ก, รอบบี. "พายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงในความสัมพันธ์กับเอสเอสทีและการแปรปรวนของความชื้น:" (PDF). RSMAS (มหาวิทยาลัยไมอามี. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน ค.ศ. 2010.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - คริส แลนด์ซี (4 มกราคม ค.ศ. 2000). "ตารางการแปรปรวนสภาพภูมิอากาศ — พายุหมุนเขตร้อน". , . สืบค้นเมื่อ 19 ตุลาคม ค.ศ. 2006.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
((help)) - แมตต์ เมนน์ (15 มีนาคม ค.ศ. 2000). . . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2002-12-19. สืบค้นเมื่อ 19 ตุลาคม ค.ศ. 2006.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
((help)) - Kushnir, Yochanan. . EESC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-20. สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน ค.ศ. 2010.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - John M. Wallace & Peter V. Hobbs (1977). Atmospheric Science: An Introductory Survey. Academic Press, Inc. pp. 76–77.
- (2000). "Climate Variability of Tropical Cyclones: Past, Present and Future". Storms. . pp. 220–41. สืบค้นเมื่อ October 19, 2006.
- Dian J. Gaffen-Seidel, Rebecca J. Ross and James K. Angell (November 2000). . National Oceanic and Atmospheric Administration Air Resources Laboratory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 8, 2006. สืบค้นเมื่อ October 19, 2006.
- Lixion Avila (December 3, 2005). "Hurricane Epsilon Discussion Eighteen". National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ December 14, 2010.
- Kerry A. Emanuel (1998). "Maximum Intensity Estimation". Massachusetts Institute of Technology. สืบค้นเมื่อ October 20, 2006.
- Department of Atmospheric Sciences (October 4, 1999). "Pressure Gradient Force". University of Illinois at Urbana-Champaign. สืบค้นเมื่อ October 20, 2006.
- G.P. King (November 18, 2004). (PDF). . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-11-29. สืบค้นเมื่อ October 20, 2006.
- Kepert, Jeffrey D. (2010). "Tropical Cyclone Structure and Dynamics". ใน Johnny C.L. Chan, Jeffrey D Kepert (บ.ก.). (PDF). Singapore: World Scientific. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ February 2, 2011.
- "Hurricanes: a tropical cyclone with winds > 64 knots". University of Illinois. 2006. สืบค้นเมื่อ 24 March 2014.
- Department of Atmospheric Sciences (DAS) (1996). "Hurricanes". University of Illinois at Urbana-Champaign. สืบค้นเมื่อ August 9, 2008.
- University of Illinois (October 4, 1999). Hurricanes. Retrieved 2008-08-17.
- M. E. Nicholls & R. A. Pielke (เมษายน 1995). (PDF). 21st Conference on Hurricanes and Tropical Meteorology of the . . pp. 339–41. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ กันยายน 9, 2006. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 20, 2006.
- Clark Evans (January 5, 2006). "Favorable trough interactions on tropical cyclones". Flhurricane.com. สืบค้นเมื่อ October 20, 2006.
- Deborah Hanley; John Molinari & Daniel Keyser (October 2001). "A Composite Study of the Interactions between Tropical Cyclones and Upper-Tropospheric Troughs". . 129 (10): 2570–84. Bibcode:2001MWRv..129.2570H. doi:10.1175/1520-0493(2001)129<2570:ACSOTI>2.0.CO;2. ISSN 1520-0493.
- Eric Rappin & Michael C. Morgan. (PDF). . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ กันยายน 7, 2006. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 20, 2006.
- , Hurricane Research Division. "Frequently Asked Questions: When is hurricane season?". National Oceanic and Atmospheric Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 5, 2009. สืบค้นเมื่อ July 25, 2006.
- Kaye, Ken (September 9, 2010). . Sun Sentinel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-10. สืบค้นเมื่อ 23 September 2010.
- Chris Landsea (July 13, 2005). "FAQ: Why doesn't the South Atlantic Ocean experience tropical cyclones?". NOAA. สืบค้นเมื่อ May 14, 2009.
- Hurricane Research Division. "Frequently Asked Questions: What are the average, most, and least tropical cyclones occurring in each basin?". National Oceanic and Atmospheric Administration's Atlantic Oceanographic and Meteorological Laboratory. สืบค้นเมื่อ December 5, 2012.
- http://www.rsmcnewdelhi.imd.gov.in/images/pdf/publications/annual-rsmc-report/rsmc-2018.pdf
- RA I Tropical Cyclone Committee (November 9, 2012). Tropical Cyclone Operational Plan for the South-West Indian Ocean: 2012 (PDF) (Report No. TCP-12). World Meteorological Organization. pp. 11–14. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ March 29, 2015. สืบค้นเมื่อ March 29, 2015.
- "Australian Tropical Cyclone Outlook for 2019 to 2020". Australian Bureau of Meteorology. 11 October 2019. จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 October 2019. สืบค้นเมื่อ 14 October 2019.
- 2019–20 Tropical Cyclone Season Outlook [in the] Regional Specialised Meteorological Centre Nadi – Tropical Cyclone Centre (RSMC Nadi – TCC) Area of Responsibility (AOR) (PDF) (Report). Fiji Meteorological Service. October 11, 2019. (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ October 11, 2019. สืบค้นเมื่อ October 11, 2019.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karkaenidphayuhmunekhtrxn khuxkarphthnaaelathwikalngaerngkhunkhxngphayuhmunekhtrxninbrryakas odyklikthiekidkhunkhxngkarkaenidphayuhmunekhtrxn mikhwamaetktangkbklikkarekidkhxngkarkaenidphayuhmunlaticudklang odykarkaenidphayuhmunekhtrxncaekiywkhxngkbaeknxbxun enuxngcakkarphakhwamrxnxyangminysakhyinsphawaaewdlxmthiehmaasm sungtxngkarkhwamtxngkarhlkhkprakar idaek xunhphumiphunphiwnathaelthixbxunphx khwamimaennxninchnbrryakas khwamchunsunginothrophsefiyrradbtathungklang mixyangephiyngphxinkarphthnakhxngsunyklangkhwamkdxakasta phunthiradbtahruxhyxmkhwamkdxakastathimixyuedim aelalmechuxnaenwtngradbtaesnthangedinphayuhmunekhtrxnthwolk rahwangpi ph s 2528 thung 2547 aesdngihehnthungbriewntang thiphayuhmunekhtrxnmkphthnakhun phayuhmunekhtrxnmiaenwonmthicaphthnainchwngvdurxn aetkyngidrbkartngkhxsngektkbaexngthimiphayuekidmakthisud sungmiaenwonminthukeduxn wdckrphumixakas xyangechn khwamphnaeprkhxngrabbxakasinsikolkit exlnioy ENSO aela samarthprbrayaewlaaelakhwamthiinkarphthnakhxngphayuhmunekhtrxnid khxcakdkhwamrunaerngkhxngphayuhmunekhtrxn ekiywkhxngxyangyingkbxunhphumikhxngnainrahwangthangthiphayuekhluxnphan odyechliythwolk miphayuhmunekhtrxninradbphayuosnrxn 86 lukthukpi incanwnnnthwikalngepnphayuitfun phayuehxrriekhn 47 luk aela 20 lukepnphayuhmunekhtrxnthimikhwamrunaerng xyangnxymikhwamrunaerngradb 3 tammatraehxrriekhnaesfefxr simpsn khwamtxngkarsahrbkarkxtwkhxngphayuhmunekhtrxnaesdngkhwamlukkhxngxunhphumi 26 s inwnthi 1 tulakhm ph s 2549 mikhwamtxngkarhlkhkprakar idaek xunhphumiphunphiwnathaelthixbxunphx khwamimaennxninchnbrryakas khwamchunsunginothrophsefiyrradbtathungklang mixyangephiyngphxinkarphthnakhxngsunyklangkhwamkdxakasta phunthiradbtahruxhyxmkhwamkdxakastathimixyuedim aelalmechuxnaenwtngradbta aemenguxnikhehlaniepnsingcaepnsahrbkarkxtwkhxngphayuhmunekhtrxn wacamiphayuhmunekhtrxnkxtwkhunesmxip naxun kariresthiyrphaph aelakhwamchunthikhwamsungradbklang kraaeslmsinkhaphayinmhasmuthraextaelntik phunthithilmekhluxnekhabrrcbknxyangcha tamaenwthangediywkbkarphdkhxnglm srangkhwamiresthiyrphaphinbrryakasthixacnaipsukarkxtwkhxngphayuehxrriekhn odypkti nathaelthixunhphumi 26 5 s 79 7 f thithxdtwtlxdaenwaelamikhwamlukxyangnxy 50 emtr thuxwaepnkhntakhxngkarbarungrksa rabbxakasaebbhmunwn aebbphiess nnkhuxphayuhmunekhtrxn naxunehlanimikhwamcaepninkarichbarungrksaaeknxbxuninthanaechuxephlingkhxngrabb sungxunhphuminidikwa 16 1 s 60 9 f thiepnxunhphumiechliykhxngphunphiwmhasmuthrthwolk xyangirktam khwamtxngkarehlaniepnephiyngphunthanthwip ephraathuxwasphaphaewdlxmodyrxbbriewnepntwesnxodyechliy txngkarxangxing phayuhmunekhtrxnruckcdrupaebbaeminsphawapktithiimxacphbid twxyang xakasthimixunhphumieynthiradbkhwamsungthisungkhun echn n radbkhwamsung 500 hPa hrux 5 9 km samarthkxihekidkarkaenidphayuhmunekhtrxnthixunhphuminathaeltakwa inkhnathixtrakarldlngkhxngxunhphumiaennxn epnsingcaepnthicathaihchnbrryakasekidkhwamxyangephiyngphxsahrbkarphakhwamrxn inchnbrryakasthichun xtrakarldlngkhxngxunhphumikhux 6 5 s km khnathiinchnbrryakasmikhwamchunsmphththtakwa 100 khwamtxngkarxtrakarldlngkhxngxunhphumikhux 9 8 s km thiradbkhwamsung 500 hPa xunhphumiechliyinchnbrryakasphayinekhtrxnkhux 7 s 18 f aetxakasinekhtrxnodypktimkcaaehngthiradbkhwamsungni thaihxakaspktiepn hruxeyncnmnchun ephuxepnxunhphumithidikhunnnsamarthrxngrbkarphakhwamrxnid xunhphumikraepaaepiykthikhwamsung 500 hPa inekhtrxnkhux 26 5 s aelaxunhphuminitxngkarkarephimkhunhruxlnglngtamswn 1 s inxunhphumiphunphiwnathael sahrb 1 s karepliynaeplngthi 500 hPa phayitisokhlnxnhnaweyn xunhphumithi 500 hPa samarthldlngtasudipidthi 30 s sungsamarthchknakarphakhwamrxn aemxyuinbrryakasthiaehngaelngthisud nxkcakniyngxthibaywathaimkhwamkhuninradbklangkhxngothrophsefiyr praman 500 hPa nnepnkhwamcaepnpktisahrbkarphthnaphayuhmun xyangirktam emuxphbxakasaehngthikhwamsungediywkn xunhphumithiradb 500 hPa nntxngkarthicaeynlngepnbrryakasthiaehng ephuxihekidxtrakarldlngkhxngxunhphumi Lapse rate khnadihysahrbkhwamimaennxnkwabrryakasthichun thikhwamsungiklkbothrophphxs khaxunhphumiodyechliy 30 pi inkartrwcwdinchwngthikhrxbkhlumtngaetpi 2504 thung 2533 khux 77 s 132 f twxyangkhxngphayuhmunekhtrxninpccubnthirksatwmnexngiwbnnathieynidkhux in bthbathkhxngkhwamrunaerngsungsudthixaccaekidkhun MPI sastracarydanxutuniymwithyachawxemrikn idsrangaebbcalxngthangkhnitsastrkhunemuxrawpi 2531 inkarkhanwnkhidcakdsungsudkhxngkhwamrunaerngphayuhmunekhtrxn odytngxyubnxunhphumiphunphiwnathaelaelaokhrngrangekiywkbbrryakas cak aebbcalxngkhxngexmanuexlnieriykwa khwamrunaerngsungsudthixaccaekidkhun Maximum potential intensity hrux MPI sungaephnthithithuksrangkhuncaksmkarnn aesdngphumiphakhthiphayuosnrxnaelaphayuhmunekhtrxnmikhwamepnipidwacakxtwkhun khunxyukbxunhphlsastrkhxngbrryakasinewlakhxngkardaeninaebbcalxnglasud echn 0000 hrux 1200 UTC odyimidkhanungthunglmechuxnaenwtng phngaesdngkhxngkraaesbriewnrxbhyxmkhwamkdxakasta inphaphkhuxphayuehxrriekhnxisaebl insikolkehnux odyaerngkhwamdnladchnthukaethndwyluksrsinaengin khwamerngkhxngkhxrixxlis tngchakkbkhwamerwesmx aesdngdwyluksrsiaedngaerngkhxrixxlis rayahangnxythisud 500 kiolemtr 310 iml cakesnsunysutrnnepnpktisahrbkhwamtxngkarinkarkaenidphayuhmunekhtrxnaerngkhxrixxlisbxkihrukarhmunbnkraaesxakas aelaekidepnlmephuxihlipthangkhwamkdxakastathithuksrangkhunodykhwamhyxmkhwamkdxakastathimixyukxn Pre existing disturbance inphunthikhnadelkmakhruximmiaerngkhxrixxlisxyu echn iklkbesnsunysutr echphaaaerngbrryakasnysakhyethannthisamarthelnkbaerngkhwamdnladchn Pressure gradient force id khwamkdxakasthitangknnnepnsaehtuihlmphdcakkhwamkdxakassungiphata aelaaerngesiydthankhnadelk thngsxngnixyangidxyanghnungcaimepnsaehtuihekidkarhmuninkhnadihysahrbkarkxtwkhxngphayuhmunekhtrxn kardarngxyukhxngaerngkhxrixxlisxyangminysakhycaepidthangihekidkarkxtwlmhmunwnephuxihbrrluphlkhwamsmdullmaenwlad khwamsmdulenguxnikhniphbidinphayuhmunekhtrxnthiecriyetmthi nncachwykhwamrxnaefngcaephaamungipiklkbaeknkhxngphayu niepnphlinbarungrksahruxkarephimkhwamrunaerngkhxnglmhmunwn thapccyinkarkxtwxun nnwang lmechuxnaenwtngkalngxxn lmechuxnaenwtngthimikhwamerwnxykwa 10 m w 20 nxt rahwangphunphiwkbothrophphxsnnehmaakbkarkxtwkhxngphayuhmunekhtrxn odylmechuxnaenwtngthimikalngxxnnicathaihphayuetibotidxyangrwderwinaenwtnginxakas sungcachwyihphayukxtwaelaaekhngaerngkhun thalmechuxnaenwtngmikalngaerngekinip phayucaimsamarthotkhunidxyangetmskyphaphaelaphlngngankhxngmncaerimaephkhyayxxkip cnphunthinnkwangekinkwathiphayucamikalngmakkhunid lmechuxnsamarth phd ihphayuhmunekhtrxnaeykxxkcakknid enuxngcakmncaipaethnthiaeknxbxunradbklangcakkarhmunewiynthiphunphiw aelahyudradbklangkhxngothrophphxssungcahyudkarphthnakhxngphayu inrabbkhnadelkkwa karphthnakhxng Mesoscale convective complex nysakhyinsingaewdlxmthikhad samarthsngkhxbekhtkarihlxxkkhnadihyphxxxkipephuxthalayphunphiwkhxngphayuhmunid odylmechuxnkalngpanklangnnsamarthnaipsukarphthnathngkhntnkhxngkarphakhwamrxnsbsxn aelakhwamkdxakastaphunphiwkhlaykbmidlaticudid aetmntxngldkhwamtunglngephuxepidthangihkarkaenidphayuhmunekhtrxnnndaenintx ptikiriyarxngkhwamkdxakastathiepnpraoychn aerngechuxnkhxnglmechuxnaenwtngthixyuinradbcakd xacsngphlditxkarkxtwkhxngphayuhmunekhtrxnid emuxkhwamkdxakastachnbnhruxhyxmkhwamkdxakaschnbnthimikhnadiklekhiyngkbhyxmkhwamkdxakastakalngaerng sungrabbcasamarththukkhdthay steered odyrabbthixyuinchnbnihekhasuphunthithimikhunsudanbnthidikwaid sungsamarththaihekidkarphthnakhunkhxngphayutxip odylmhmunchnbnthimikalngxxncaepnphlthidiinptikiriyathiepnpraoychnni thngnimihlkthanwaphayuhmunekhtrxnthithukkrathaodylmechuxnkalngxxnintxnaerk caphthnaidrwderwkwaphayuhmunekhtrxnthiimthukphdechuxn aemwakarnncanamasungkhwamrunaerngsungsudodykhwamerwlmsungsudthixxnkwa aelakhwamkdxakastathisudthisungkwaktam krabwnkarechnniyngepnthiruckinchux karbarxkhlinikxinichiexchn baroclinic initiation khxngphayuhmunekhtrxnxikdwy odyepnkarekhluxnxyangcha trailing khxnglmhmunchnbnaelarxngkhwamkdxakastachnbn sungsamarththaihekidchxngkraaesxakasihlxxkephimetimid aelachwyihekidkrabwnkarkarthwikalngaerngkhun karphthnakhxnghyxmkhwamkdxakastani samarthchwysranghruxthaihrxnghruxhyxmkhwamkdxakastachnbnlukkhunid enuxngcakkraaesxakasihlxxkthixxkmacakkarphthnakhxngtwhyxmkhwamkdxakastahruxphayuhmunekhtrxnexng mihlaykrnithirxngkhwamkdxakastalaticudklangkhnadihy samarthchwyinkarkxtwkhxngphayuhmunekhtrxnid emuxkraaeslmkrdchnbnphanipthangdantawntkechiyngehnuxkhxngkarphthnakhxngrabb sungcachwyihekidkarluxxkkhunsudanbn aelakarihlekhathiphunphiwephuxhmunphayuhmunekhtrxn ptismphnthpraephthnimkekiywkhxngkbkhwamkdxakastathimixyuaelwinkrabwnkareliywklb recurvature ewlainkarkxtwkhasungthisudkhxngkickrrmthwolk inthwolk kickrrmphayuhmunekhtrxncathungkhasungsudinchwngvdurxn emuxxunhphumikhxngnathaelxunthisudinaetlaaexng xyangirktam aetlaaexngcamirupaebbvdukalepnkhxngtwexng inradbolk eduxnphvsphakhmepneduxnthimikickrrmnxythisud khnathieduxnknyayncaepnchwngthimikickrrmmakthisud inmhasmuthraextaelntikehnux vduphayuehxrriekhncapraktkhunxyangchdecntngaetwnthi 1 mithunayn thung 30 phvscikayn odymichwngthimikickrrmmaksudinplayeduxnsinghakhmthungeduxntulakhm khasungsudthangsthitikhxngvduphayuehxrriekhnaextaelntikxyuinwnthi 10 knyayn swninmhasmuthraepsifiktawnxxkechiyngehnux mikrxbewlakhxngkickrrmthikwangkwa aetkxyuinchwngewlaxniklekhiyngkbmhasmuthraextaelntikehnux swninmhasmuthraepsifiktawntksamarthehnphayuhmunekhtrxnidtlxdthngpi mikhakickrrmnxythisudineduxnkumphaphnth aelakhamaksudineduxnknyayn swninmhasmuthrxinediyehnux odythwipaelwcamiphayuidinchwngeduxnemsaynthungthnwakhm odymikhamaksudineduxnphvsphakhmaelaphvscikayn insikolkit kickrrmphayuhmunekhtrxnodythwipcaerimkhunineduxnphvscikayn aelacacblnginwnthi 30 emsayn kickrrmkhxngsikolkitcamakthisudinchwngklangeduxnkumphaphnththungtneduxnminakhm kickrrmkhxngphayuhmunekhtrxninsikolkitcaxyubriewntngaetaenwchayfngthwipaexfrikatxnitipthangtawnxxk cnthungthwipxemrikait aetphayuhmunekhtrxnepnehtukarnthihaphbidyakinmhasmuthraepsifikit aelainmhasmuthraepsifiktawnxxkechiyngitikl khaechliyaelakhwamyawvdukalaexng erimvdu sinsudvdu canwnphayuhmunekhtrxn xangxingaextaelntikehnux 1 mithunayn 30 phvscikayn 14 4aepsifiktawnxxk 15 phvsphakhm 30 phvscikayn 16 6aepsifiktawntk 1 mkrakhm 31 thnwakhm 26 0mhasmuthrxinediyehnux 1 mkrakhm 31 thnwakhm 12mhasmuthrxinediytawntkechiyngit 1 krkdakhm 30 mithunayn 9 3phumiphakhxxsetreliy 1 phvscikayn 30 emsayn 11 0aepsifikit 1 phvscikayn 30 emsayn 7 1thwolk 96 4duephimphayuhmunekhtrxnxangxingphumixakaswithyaaelaxutuniymwithyaxarktik Arctic Climatology and Meteorology sunykhxmulhimaaelanaaekhngaehngchati khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2006 08 30 subkhnemux 20 tulakhm kh s 2006 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help oklednebirk stn 13 singhakhm kh s 2004 phayuhmunnxkekhtrxnkhuxxair What is an extra tropical cyclone khathamthiphbbxy phayuehxrriekhn phayuitfun aelaphayuisokhln aephnknganwicyphayuehxrriekhn subkhnemux 30 singhakhm kh s 2008 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate aela date help phayuhmunekhtrxnkxtwxyangir How do tropical cyclones form khathamthiphbbxy phayuehxrriekhn phayuitfun aelaphayuisokhln subkhnemux 25 krkdakhm kh s 2006 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help aelndsi khrisotefxr exksarkaraeprprwninsphaphphumixakaskhxngphayuhmunekhtrxn AOML Climate Variability of Tropical Cyclones paper hxngptibtikardanxutuniymwithyaaelasmuthrsastraextaelntik subkhnemux 23 knyayn kh s 2010 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help UAE khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 03 09 subkhnemux 23 knyayn kh s 2010 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help ebirk rxbbi phayuhmunekhtrxnthirunaernginkhwamsmphnthkbexsexsthiaelakaraeprprwnkhxngkhwamchun PDF RSMAS mhawithyalyimxami subkhnemux 23 knyayn kh s 2010 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help khris aelndsi 4 mkrakhm kh s 2000 tarangkaraeprprwnsphaphphumixakas phayuhmunekhtrxn subkhnemux 19 tulakhm kh s 2006 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate aela date help aemtt emnn 15 minakhm kh s 2000 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2002 12 19 subkhnemux 19 tulakhm kh s 2006 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate aela date help Kushnir Yochanan EESC khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 05 20 subkhnemux 24 knyayn kh s 2010 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help John M Wallace amp Peter V Hobbs 1977 Atmospheric Science An Introductory Survey Academic Press Inc pp 76 77 2000 Climate Variability of Tropical Cyclones Past Present and Future Storms pp 220 41 subkhnemux October 19 2006 Dian J Gaffen Seidel Rebecca J Ross and James K Angell November 2000 National Oceanic and Atmospheric Administration Air Resources Laboratory khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux May 8 2006 subkhnemux October 19 2006 Lixion Avila December 3 2005 Hurricane Epsilon Discussion Eighteen National Hurricane Center subkhnemux December 14 2010 Kerry A Emanuel 1998 Maximum Intensity Estimation Massachusetts Institute of Technology subkhnemux October 20 2006 Department of Atmospheric Sciences October 4 1999 Pressure Gradient Force University of Illinois at Urbana Champaign subkhnemux October 20 2006 G P King November 18 2004 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2007 11 29 subkhnemux October 20 2006 Kepert Jeffrey D 2010 Tropical Cyclone Structure and Dynamics in Johnny C L Chan Jeffrey D Kepert b k PDF Singapore World Scientific ISBN 978 981 4293 47 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 06 29 subkhnemux February 2 2011 Hurricanes a tropical cyclone with winds gt 64 knots University of Illinois 2006 subkhnemux 24 March 2014 Department of Atmospheric Sciences DAS 1996 Hurricanes University of Illinois at Urbana Champaign subkhnemux August 9 2008 University of Illinois October 4 1999 Hurricanes Retrieved 2008 08 17 M E Nicholls amp R A Pielke emsayn 1995 PDF 21st Conference on Hurricanes and Tropical Meteorology of the pp 339 41 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux knyayn 9 2006 subkhnemux tulakhm 20 2006 Clark Evans January 5 2006 Favorable trough interactions on tropical cyclones Flhurricane com subkhnemux October 20 2006 Deborah Hanley John Molinari amp Daniel Keyser October 2001 A Composite Study of the Interactions between Tropical Cyclones and Upper Tropospheric Troughs 129 10 2570 84 Bibcode 2001MWRv 129 2570H doi 10 1175 1520 0493 2001 129 lt 2570 ACSOTI gt 2 0 CO 2 ISSN 1520 0493 Eric Rappin amp Michael C Morgan PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux knyayn 7 2006 subkhnemux tulakhm 20 2006 Hurricane Research Division Frequently Asked Questions When is hurricane season National Oceanic and Atmospheric Administration khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux May 5 2009 subkhnemux July 25 2006 Kaye Ken September 9 2010 Sun Sentinel khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 05 10 subkhnemux 23 September 2010 Chris Landsea July 13 2005 FAQ Why doesn t the South Atlantic Ocean experience tropical cyclones NOAA subkhnemux May 14 2009 Hurricane Research Division Frequently Asked Questions What are the average most and least tropical cyclones occurring in each basin National Oceanic and Atmospheric Administration s Atlantic Oceanographic and Meteorological Laboratory subkhnemux December 5 2012 http www rsmcnewdelhi imd gov in images pdf publications annual rsmc report rsmc 2018 pdf RA I Tropical Cyclone Committee November 9 2012 Tropical Cyclone Operational Plan for the South West Indian Ocean 2012 PDF Report No TCP 12 World Meteorological Organization pp 11 14 ekb PDF cakaehlngedimemux March 29 2015 subkhnemux March 29 2015 Australian Tropical Cyclone Outlook for 2019 to 2020 Australian Bureau of Meteorology 11 October 2019 cakaehlngedimemux 14 October 2019 subkhnemux 14 October 2019 2019 20 Tropical Cyclone Season Outlook in the Regional Specialised Meteorological Centre Nadi Tropical Cyclone Centre RSMC Nadi TCC Area of Responsibility AOR PDF Report Fiji Meteorological Service October 11 2019 PDF cakaehlngedimemux October 11 2019 subkhnemux October 11 2019