กลุ่มภาษาอาโลร์-ปันตาร์ (Alor-Pantar languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่อยู่ใน ใช้พูดในบริเวณใกล้กับติมอร์ทางภาคใต้ของอินโดนีเซีย มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาที่ไม่ได้อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในแต่ยังไม่มีการศึกษาที่แน่ชัด คาดว่ามีความสัมพันธ์ที่ห่าง ๆ กับกลุ่มภาษาทรานส์-นิวกินีใน แต่ยังไม่มีหลักฐานยืนยันอย่างแน่ชัด
สมาชิก
ภาษาในกลุ่มนี้แบ่งออกได้เป็นสองสาขาคือ
- สาขาอาโลร์ ได้แก่ ภาษากามัง ภาษากูลา ภาษาซารีลา ภาษาอบุย ภาษากาโบลา ภาษากาฟัว ภาษากุย ภาษาเกลอน
- สาขาปันตาร์ ได้แก่ ภาษาบลาการ์ ภาษาเตวา ภาษาเนเดบัง ภาษาเรตตา
แหล่งข้อมูลอื่น
- Alor and Pantar Languages: Origins and Theoretical Impacts 2009-07-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Alor–Pantar languages: origins and theoretical impact – University of Leiden
- Linguistic Variation in Eastern Indonesia: the Alor and Pantar Project – University of Leiden
- The Alor–Pantar family at Ethnologue
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klumphasaxaolr pntar Alor Pantar languages epnklumkhxngphasathixyuin ichphudinbriewniklkbtimxrthangphakhitkhxngxinodniesiy mikhwamsmphnthiklchidkbphasathiimidxyuintrakulphasaxxsotrniesiyninaetyngimmikarsuksathiaenchd khadwamikhwamsmphnththihang kbklumphasathrans niwkiniin aetyngimmihlkthanyunynxyangaenchdaephnthiekaaxaolraelaekaapntarsmachikphasainklumniaebngxxkidepnsxngsakhakhux sakhaxaolr idaek phasakamng phasakula phasasarila phasaxbuy phasakaobla phasakafw phasakuy phasaeklxn sakhapntar idaek phasablakar phasaetwa phasaenedbng phasaerttaaehlngkhxmulxunAlor and Pantar Languages Origins and Theoretical Impacts 2009 07 21 thi ewyaebkaemchchin Alor Pantar languages origins and theoretical impact University of Leiden Linguistic Variation in Eastern Indonesia the Alor and Pantar Project University of Leiden The Alor Pantar family at Ethnologue