กลุ่มภาษากัม-ไท (อังกฤษ: Kam–Tai languages), ต้ง-ไท (จีน: 侗台语支) หรือ จ้วง-ต้ง (จีน: 壮侗语族) เป็นสาขาภาษาหลักที่มีการเสนอให้จัดแบ่งขึ้นในตระกูลภาษาขร้า-ไท ประกอบด้วยภาษาของชนชาติต่าง ๆ ในจีนตอนใต้และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประมาณกว่าร้อยละ 80 ของภาษาทั้งหมดในตระกูลดังกล่าว
กลุ่มภาษากัม-ไท | |
---|---|
ต้ง-ไท จ้วง-ต้ง | |
ภูมิภาค: | , เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, มณฑลไหหลำ |
การจําแนก ทางภาษาศาสตร์: | ขร้า-ไท
|
ภาษาดั้งเดิม: | กัม–ไทดั้งเดิม |
กลุ่มย่อย: |
จุดกำเนิด ประวัติ และลักษณะทั่วไปขอบเขตการแพร่กระจายของภาษาในกลุ่มนี้เริ่มจากทางตะวันตกของยูนนานไปจนถึงกวางตุ้งและเกาะไหหลำ ผู้พูดส่วนใหญ่รวมตัวเป็นกลุ่มก้อนท่ามกลางชาวจีนฮั่นหรือชนกลุ่มน้อยอื่นๆ มีความเชื่อที่คล้ายคลึงกันมีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่สืบทอดมาด้วยภาษาของตนเองซึ่งน่าจะเริ่มต้นมาจากภาษากัม-ไทดั้งเดิม ชาวเยว่ที่เคยแพร่หลายทางตอนใต้ของจีนสมัยโบราณมีภาษาที่มีบรรพบุรุษเดียวกับภาษาในกลุ่มนี้ เยว่เป็นชื่อทั่วไปที่ใช้เรียกกลุ่มชนที่มีความสัมพันธ์กับชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ที่อยู่ในจีนตอนใต้มาเป็นเวลานาน เนื่องจากมีหลายสาขา เยว่จึงเคยมีชื่อเรียกว่าไป่เยว่ (เยว่ร้อยจำพวก) ในเอกสารประวัติศาสตร์สมัยโบราณของจีนซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่มาก ชนกลุ่มเยว่ในบริเวณต่างกันมีชื่อเรียกต่างกันตั้งแต่ชายฝั่งตะวันออกของประเทศจีนไปจนถึงตะวันออกเฉียงเหนือในพม่ามีชาวเยว่หลายกลุ่ม เช่น หวู่เยว่ (Wuyue 吳越), ยูเยว่ (Yuyue 於越), โอวเยว่หรือเยว่ตะวันออก (Ouyue 甌越), หนานเยว่ (Nanyue 南越/南粵), ซีโอว (Xi'ou 西甌), หลัวเยว่ (Luoyue 雒越/駱越), หยางเยว่ (Yangyue 揚越), หมิ่นเยว่ (Minyue 閩越), ชานเยว่ (Shanyue 山越), กุยเยว่ และเตียนเยว่ (Dianyue 滇越) ในช่วงสมัยราชวงศ์ฉินจนถึงราชวงศ์ฮั่นตะวันตกเกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ในหมู่ชาวไป่เยว่ในจีนตอนใต้ซึ่งเกิดจากการสู้รบระหว่างชาวไป่เยว่กับรัฐบาลกลางทำให้มีการจัดการปกครองขึ้นใหม่ มีการอพยพของทหารจีนจากตอนเหนือเข้ามา ชาวเยว่เริ่มรวมตัวกันเป็นกลุ่มแยกต่างหากจากผู้อพยพเข้ามาใหม่ เกิดการใช้ชื่อเรียกชาวเยว่ในแต่ละที่เป็นการเฉพาะ คำว่าเยว่จึงหายไปจากประวัติศาสตร์จีน หลังจากยุคราชวงศ์ฮั่นประมาณพุทธศตวรรษที่ 8 มีชื่อใหม่ เช่น วูฮู ลื้อ และลาวเกิดขึ้น เพื่อใช้เรียกกลุ่มชาวไป่เยว่ที่แตกต่างกัน มีความเห็นที่แตกต่างกันมากในหมู่นักประวัติศาสตร์จีนเกี่ยวกับต้นกำเนิดของคำว่าวูฮู คำว่าลื้อและลาวเริ่มใช้ในพุทธศตวรรษที่ 8-11 ใช้เรียกชาวเยว่ที่อยู่ทางตะวัตกเฉียงใต้ของจีน ในสมัยราชวงศ์ถังมีชื่อของกลุ่มชนลาวกว่า 20 ชื่อ เช่นลาวนานผิง ลาวเจียนนาน ลาววูฮู ลาวปาโจว ลาวอี้โจว ลาวกุ้ยโจว และลาวฉาน คำว่าจ้วงปรากฏครั้งแรกในหนังสือ A History of the Local Administration in Guangxi เขียนโดย Fan Chengda ในสมัยราชวงศ์ซ้องใต้ แต่โดยมากมักใช้ปะปนกับคำว่าลาว ในกว่างซี คำว่าจ้วงใช้เรียกปนกับพวกลื้อจนถึงสมัยราชวงศ์หมิง ต่อมาจึงใช้คำว่าจ้วงเรียกลูกหลานของกลุ่มชนปู้จ้วงที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกวางสี ทางใต้ของกุ้ยโจวและตะวันตกของกวางตุ้ง อ้างอิง
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klumphasakm ith xngkvs Kam Tai languages tng ith cin 侗台语支 hrux cwng tng cin 壮侗语族 epnsakhaphasahlkthimikaresnxihcdaebngkhunintrakulphasakhra ith prakxbdwyphasakhxngchnchatitang incintxnitaelainexechiytawnxxkechiyngitpramankwarxyla 80 khxngphasathnghmdintrakuldngklawklumphasakm ithtng ith cwng tngphumiphakh exechiytawnxxkechiyngit mnthlihhlakarcaaenk thangphasasastr khra ithklumphasakm ithphasadngedim km ithdngedimklumyxy ith eb phasapuyi epnphasakhxngklumchnthiphbthangitaelatawntkechiyngitkhxngmnthlkuyocw aelayngmiinmnthlyunnanaelaeschwn chawpuyimithnghmdpraman 2 545 059 khn phasakmhruxphasatng miphuphudphasanikracayxyuinkuyocw huhnan huepy aelaekhtpkkhrxngtnexngkwangsicwng mipraman 2 514 014 khn hruxphasahli mipraman 1 110 900 khn swnihyphbinekaaihhla phasaith swnihyphbinmnthlyunnan odyechphaainsibsxngpnnaaelaekhtpkkhrxngtnexngetxhngithaelacingphx phasachuy swnihyxyuinmnthlkuyocwaelaekhtpkkhrxngtnexngkwangsicwng mipraman 345 993 khn hruxphasamuehla swnihyxyuinekhtpkkhrxngtnexngkwangsicwng mipraman 159 328 khn swnihyxyuinekhtpkkhrxngtnexngkwangsicwngaelamnthlkuyocw mipraman 71 968 khn xyuinekaaihhla section cudkaenid prawti aelalksnathwipkhxbekhtkaraephrkracaykhxngphasainklumnierimcakthangtawntkkhxngyunnanipcnthungkwangtungaelaekaaihhla phuphudswnihyrwmtwepnklumkxnthamklangchawcinhnhruxchnklumnxyxun mikhwamechuxthikhlaykhlungknmiprawtisastraelawthnthrrmthisubthxdmadwyphasakhxngtnexngsungnacaerimtnmacakphasakm ithdngedim chaweywthiekhyaephrhlaythangtxnitkhxngcinsmyobranmiphasathimibrrphburusediywkbphasainklumni eywepnchuxthwipthiicheriykklumchnthimikhwamsmphnthkbchnklumnxytang thixyuincintxnitmaepnewlanan enuxngcakmihlaysakha eywcungekhymichuxeriykwaipeyw eywrxycaphwk inexksarprawtisastrsmyobrankhxngcinsungepnklumprachakrthiihymak chnklumeywinbriewntangknmichuxeriyktangkntngaetchayfngtawnxxkkhxngpraethscinipcnthungtawnxxkechiyngehnuxinphmamichaweywhlayklum echn hwueyw Wuyue 吳越 yueyw Yuyue 於越 oxweywhruxeywtawnxxk Ouyue 甌越 hnaneyw Nanyue 南越 南粵 sioxw Xi ou 西甌 hlweyw Luoyue 雒越 駱越 hyangeyw Yangyue 揚越 hmineyw Minyue 閩越 chaneyw Shanyue 山越 kuyeyw aelaetiyneyw Dianyue 滇越 inchwngsmyrachwngschincnthungrachwngshntawntkekidkarepliynaeplngkhnadihyinhmuchawipeywincintxnitsungekidcakkarsurbrahwangchawipeywkbrthbalklangthaihmikarcdkarpkkhrxngkhunihm mikarxphyphkhxngthharcincaktxnehnuxekhama chaweywerimrwmtwknepnklumaeyktanghakcakphuxphyphekhamaihm ekidkarichchuxeriykchaweywinaetlathiepnkarechphaa khawaeywcunghayipcakprawtisastrcin hlngcakyukhrachwngshnpramanphuththstwrrsthi 8 michuxihm echn wuhu lux aelalawekidkhun ephuxicheriykklumchawipeywthiaetktangkn mikhwamehnthiaetktangknmakinhmunkprawtisastrcinekiywkbtnkaenidkhxngkhawawuhu khawaluxaelalawerimichinphuththstwrrsthi 8 11 icheriykchaweywthixyuthangtawtkechiyngitkhxngcin insmyrachwngsthngmichuxkhxngklumchnlawkwa 20 chux echnlawnanphing laweciynnan lawwuhu lawpaocw lawxiocw lawkuyocw aelalawchan khawacwngpraktkhrngaerkinhnngsux A History of the Local Administration in Guangxi ekhiynody Fan Chengda insmyrachwngssxngit aetodymakmkichpapnkbkhawalaw inkwangsi khawacwngicheriykpnkbphwkluxcnthungsmyrachwngshming txmacungichkhawacwngeriyklukhlankhxngklumchnpucwngthixyuthangtawnxxkechiyngehnuxkhxngkwangsi thangitkhxngkuyocwaelatawntkkhxngkwangtungxangxingNordhoff Sebastian Hammarstrom Harald Forkel Robert Haspelmath Martin b k 2013 Kam Tai Glottolog 2 2 Leipzig Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology Ethnologue com Edmondson Jerold A and David B Solnit editors 1988 Comparative Kadai Linguistic studies beyond Tai Summer Institute of Linguistics and the University of Texas at Arlington Publications in Linguistics 86 Dallas Summer Institute of Linguistics and the University of Texas at Arlington vii 374 p Edmondson Jerold A and David B Solnit editors 1997 Comparative Kadai the Tai branch Summer Institute of Linguistics and the University of Texas at Arlington Publications in Linguistics 124 Dallas Summer Institute of Linguistics and the University of Texas at Arlington vi 382 p Hansell Mark 1988 The Relation of Be to Tai Evidence from Tones and Initials In Comparative Kadai Linguistic studies beyond Tai Edited by Jerold A Edmondson and David B Solnit Summer Institute of Linguistics and The University of Texas at Arlington Publications in Linguistics No 86 239 288 Norquest Peter 2015 A Phonological Reconstruction of Proto Hlai Leiden Brill Ostapirat Weera wira oxsthaphirtn 2005 Kra Dai and Austronesian Notes on phonological correspondences and vocabulary distribution pp 107 131 in Sagart Laurent Blench Roger amp Sanchez Mazas Alicia eds The Peopling of East Asia Putting Together Archaeology Linguistics and Genetics London New York Routledge Curzon Liang Min 梁敏 amp Zhang Junru 张均如 1996 Dongtai yuzu gailun 侗台语族概论 An introduction to the Kam Tai languages Beijing China Social Sciences Academy Press 中国社会科学出版社 ISBN 9787500416814 Edmondson J A amp Solnit D B eds 1988 Comparative Kadai linguistic studies beyond Tai Summer Institute of Linguistics publications in linguistics no 86 Arlington TX Summer Institute of Linguistics ISBN 0 88312 066 6 Liang Min 梁敏 amp Zhang Junru 张均如 1996 Dongtai yuzu gailun 侗台语族概论 An introduction to the Kam Tai languages Beijing China Social Sciences Academy Press 中国社会科学出版社 ISBN 9787500416814 Ni Dabai 倪大白 1990 Dongtai yu gailun 侗台语概论 An introduction to the Kam Tai languages Beijing Central Nationalities Research Institute Press 中央民族学院出版社