บทความนี้ไม่มีจาก |
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
กราฟเชิงระนาบ (อังกฤษ: planar graph) ในทฤษฎีกราฟ คือกราฟที่สามารถวาดบนระนาบได้โดยไม่มีเส้นเชื่อมใดๆ ตัดกัน เช่น กราฟต่อไปนี้เป็นกราฟเชิงระนาบ
(รูปที่สอง สามารถวาดให้ไม่มีเส้นเชื่อมตัดกันได้ โดยย้ายเส้นทแยงมุมเส้นหนึ่งออกไปข้างนอก)
แต่กราฟสองรูปข้างล่างนี้ ไม่เป็นกราฟเชิงระนาบ
เนื่องจากเป็นไปไม่ได้ที่จะวาดกราฟสองรูปนี้โดยไม่มีเส้นเชื่อมตัดกัน กราฟสองรูปนี้เป็นกราฟที่ไม่เป็นกราฟเชิงระนาบที่เล็กที่สุดด้วย
ลักษณะเฉพาะ
(Kazimierz Kuratowski) นักคณิตศาสตร์ชาวโปแลนด์ ได้ศึกษากราฟเชิงระนาบและสามารถระบุลักษณะเฉพาะของกราฟเชิงระนาบ ในทฤษฎีที่รู้จักกันในชื่อ ทฤษฎีบทของกูราตอฟสกี ซึ่งกล่าวว่า "กราฟจะเป็นกราฟเชิงระนาบ กราฟนั้นไม่ประกอบด้วยกราฟย่อยซึ่งเป็น การกระจาย ของ K5 (กราฟแบบบริบูรณ์ที่มี 5 จุดยอด) หรือ K3,3 (กราฟแบบสองเชิงแบบบริบูรณ์ ที่มีจุดยอด 6 จุดโดย จุดยอด 3 จุดจะเชื่อมโยงกับจุดยอดอีก 3 จุด)"
การกระจายของกราฟ เป็นผลลัพธ์มาจากการแทรกจุดยอดลงไปในเส้นเชื่อม นั่นคือ เปลี่ยนจากเส้นเชื่อม •——• ไปเป็น •—•—• และอาจทำซ้ำอย่างนี้อีกหลายครั้ง ลักษณะเฉพาะดังกล่าวสามารถเขียนได้อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่า "ทฤษฎีบท P" ได้ดังนี้
- กราฟจะเป็นกราฟเชิงระนาบ ก็ต่อเมื่อ กราฟนั้นไม่มีกราฟย่อยซึ่งกับ K5 หรือ K3,3
- กราฟจะเป็นกราฟเชิงระนาบ ก็ต่อเมื่อ กราฟนั้นไม่มี K5 หรือ K3,3 เป็น
รูปทั่วไปของทฤษฎีของกูราตอฟสกีที่มีขอบเขตการใช้งานที่กว้างขวางมากถูกพิสูจน์โดยนีล โรเบิร์ตสันและพอล ซีมัวร์ในที่เป็นเหมือนหลักไมล์อีกอันหนึ่งของทฤษฎีกราฟ ในภาษาของทฤษฎีนี้ K5 และ K3,3 คือ "ไมเนอร์ต้องห้าม" ของเซตของกราฟเชิงระนาบที่มีขนาดจำกัด
ในทางปฏิบัติ วิธีของกูราตอฟสกีนั้นใช้ตรวจสอบกราฟว่าเป็นกราฟเชิงระนาบหรือไม่ได้ค่อนข้างช้า อย่างไรก็ตาม ยังมีขั้นตอนวิธีที่มีประสิทธิภาพมากกว่าในการแก้ปัญหานี้ สำหรับกราฟที่มี n จุดยอด เรามีขั้นตอนวิธีที่ใช้เวลา O(n) ในการตรวจสอบว่ากราฟเป็นกราฟเชิงระนาบหรือไม่
ในบางกรณี ทฤษฎีบทด้านล่างที่ได้มาจากสูตรของออยเลอร์นี้ก็ยังอาจใช้ได้ด้วย สำหรับกราฟเชิงระนาบเชื่อมโยงเชิงเดียว ที่มี n จุดยอด และ e เส้นเชื่อม
- ทฤษฎีบทที่ 1. ถ้า n ≥ 3 แล้ว e ≤ 3n - 6
- ทฤษฎีบทที่ 2. ถ้า n > 3 และไม่มีวัฏจักรที่มีความยาว 3, แล้ว e ≤ 2n - 4
สังเกตว่าทฤษฎีบทนี้ใช้คำว่า ถ้า, ไม่ได้ใช้คำว่า "ก็ต่อเมื่อ" ดังนั้นจึงยังไม่ใช้การระบุลักษณะเฉพาะที่ครบถ้วน นั่นคือผลจากทฤษฎีบทนี้จึงแสดงได้แค่ว่ากราฟที่ไม่ตรงตามเงื่อนไขเหล่านี้ไม่เป็นกราฟเชิงระนาบ แต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่ากราฟนี้เป็นกราฟเชิงระนาบ ดังนั้นถ้าทั้งสองทฤษฎีบทนี้ไม่สามารถระบุอะไรได้แล้ว เราจึงต้องใช้ทฤษฎี P ในการตรวจสอบ
ยกตัวอย่างเช่น กราฟ K3,3 มีจุดยอด 6 จุด มี 9 เส้นเชื่อม และไม่มีวัฎจักรที่มีความยาว 3. ดังนั้น ด้วยทฤษฎีบทที่สอง กราฟนี้จึงไม่เป็นกราฟเชิงระนาบ
สูตรของออยเลอร์
สูตรของออยเลอร์ (Euler's formula) กล่าวว่า ถ้ากราฟเชิงระนาบเชื่อมโยงจำกัด (finite connected planar graph) ถูกวาดในระนาบโดยไม่มีเส้นเชื่อมตัดกัน และ v คือ จำนวนของจุดยอด, e คือจำนวนของเส้นเชื่อม และ f คือจำนวนของหน้า (face) (บริเวณที่ถูกล้อมด้วยเส้นเชื่อม ซึ่งรวมถึงบริเวณด้านนอกซึ่งมีขนาดไม่จำกัดด้วย) แล้ว
- v − e + f = 2
นั่นคือ เท่ากับ 2 ตัวอย่างเช่น จากกราฟเชิงระนาบรูปแรกในหน้านี้ เราจะได้ v=6, e=7 และ f=3 จากกราฟรูปที่สอง ถ้าวาดโดยไม่มีเส้นเชื่อมตัดกัน เราจะได้ v=4, e=6 และ f=4 สูตรของออยเลอร์สามารถพิสูจน์ได้ดังนี้: ถ้ากราฟไม่เป็นต้นไม้แล้ว เราจะลบเส้นเชื่อมที่อยู่บนวัฏจักรออกไป ซึ่งจะเป็นการลด e และ f ลงอย่างละ 1 ดังนั้น v − e + f จึงเป็นค่าคงที่ ให้ทำซ้ำจนกว่าจะได้ต้นไม้ เราจะได้ v = e + 1 และ f = 1 ดังนั้น v - e + f = 2
ในกราฟเชิงระนาบเชิงเดียวเชื่อมโยงจำกัด หน้าใดๆจะถูกล้อมด้วยเส้นเชื่อมอย่างน้อย 3 เส้น และเส้นเชื่อมทุกๆเส้นจะสัมผัสกับหน้าอย่างมาก 2 หน้า; โดยการใช้สูตรของออยเลอร์ เราสามารถแสดงให้เห็นได้ว่า กราฟเหล่านี้เป็นกราฟที่เบาบาง นั่นคือ e ≤ 3v - 6 ถ้า v ≥ 3
คุณสมบัติพิเศษอื่น ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนจุดยอดและเส้นเชื่อม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การทดสอบความสมสัณฐาน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การระบายสี
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กราฟคู่กัน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud krafechingranab xngkvs planar graph inthvsdikraf khuxkrafthisamarthwadbnranabidodyimmiesnechuxmid tdkn echn kraftxipniepnkrafechingranab rupthisxng samarthwadihimmiesnechuxmtdknid odyyayesnthaeyngmumesnhnungxxkipkhangnxk aetkrafsxngrupkhanglangni imepnkrafechingranab K5K3 3 enuxngcakepnipimidthicawadkrafsxngrupniodyimmiesnechuxmtdkn krafsxngrupniepnkrafthiimepnkrafechingranabthielkthisuddwylksnaechphaa Kazimierz Kuratowski nkkhnitsastrchawopaelnd idsuksakrafechingranabaelasamarthrabulksnaechphaakhxngkrafechingranab inthvsdithiruckkninchux thvsdibthkhxngkuratxfski sungklawwa krafcaepnkrafechingranab krafnnimprakxbdwykrafyxysungepn karkracay khxng K5 krafaebbbriburnthimi 5 cudyxd hrux K3 3 krafaebbsxngechingaebbbriburn thimicudyxd 6 cudody cudyxd 3 cudcaechuxmoyngkbcudyxdxik 3 cud karkracaykhxngkraf epnphllphthmacakkaraethrkcudyxdlngipinesnechuxm nnkhux epliyncakesnechuxm ipepn aelaxacthasaxyangnixikhlaykhrng lksnaechphaadngklawsamarthekhiynidxikrupaebbhnung sungepnthiruckknwa thvsdibth P iddngni krafcaepnkrafechingranab ktxemux krafnnimmikrafyxysungkb K5 hrux K3 3 krafcaepnkrafechingranab ktxemux krafnnimmi K5 hrux K3 3 epn rupthwipkhxngthvsdikhxngkuratxfskithimikhxbekhtkarichnganthikwangkhwangmakthukphisucnodynil orebirtsnaelaphxl simwrinthiepnehmuxnhlkimlxikxnhnungkhxngthvsdikraf inphasakhxngthvsdini K5 aela K3 3 khux imenxrtxngham khxngestkhxngkrafechingranabthimikhnadcakd inthangptibti withikhxngkuratxfskinnichtrwcsxbkrafwaepnkrafechingranabhruximidkhxnkhangcha xyangirktam yngmikhntxnwithithimiprasiththiphaphmakkwainkaraekpyhani sahrbkrafthimi n cudyxd eramikhntxnwithithiichewla O n inkartrwcsxbwakrafepnkrafechingranabhruxim inbangkrni thvsdibthdanlangthiidmacaksutrkhxngxxyelxrnikyngxacichiddwy sahrbkrafechingranabechuxmoyngechingediyw thimi n cudyxd aela e esnechuxm thvsdibththi 1 tha n 3 aelw e 3n 6 thvsdibththi 2 tha n gt 3 aelaimmiwtckrthimikhwamyaw 3 aelw e 2n 4 sngektwathvsdibthniichkhawa tha imidichkhawa ktxemux dngnncungyngimichkarrabulksnaechphaathikhrbthwn nnkhuxphlcakthvsdibthnicungaesdngidaekhwakrafthiimtrngtamenguxnikhehlaniimepnkrafechingranab aetimsamarthphisucnidwakrafniepnkrafechingranab dngnnthathngsxngthvsdibthniimsamarthrabuxairidaelw eracungtxngichthvsdi P inkartrwcsxb yktwxyangechn kraf K3 3 micudyxd 6 cud mi 9 esnechuxm aelaimmiwdckrthimikhwamyaw 3 dngnn dwythvsdibththisxng krafnicungimepnkrafechingranabsutrkhxngxxyelxrsutrkhxngxxyelxr Euler s formula klawwa thakrafechingranabechuxmoyngcakd finite connected planar graph thukwadinranabodyimmiesnechuxmtdkn aela v khux canwnkhxngcudyxd e khuxcanwnkhxngesnechuxm aela f khuxcanwnkhxnghna face briewnthithuklxmdwyesnechuxm sungrwmthungbriewndannxksungmikhnadimcakddwy aelw v e f 2 nnkhux ethakb 2 twxyangechn cakkrafechingranabrupaerkinhnani eracaid v 6 e 7 aela f 3 cakkrafrupthisxng thawadodyimmiesnechuxmtdkn eracaid v 4 e 6 aela f 4 sutrkhxngxxyelxrsamarthphisucniddngni thakrafimepntnimaelw eracalbesnechuxmthixyubnwtckrxxkip sungcaepnkarld e aela f lngxyangla 1 dngnn v e f cungepnkhakhngthi ihthasacnkwacaidtnim eracaid v e 1 aela f 1 dngnn v e f 2 inkrafechingranabechingediywechuxmoyngcakd hnaidcathuklxmdwyesnechuxmxyangnxy 3 esn aelaesnechuxmthukesncasmphskbhnaxyangmak 2 hna odykarichsutrkhxngxxyelxr erasamarthaesdngihehnidwa krafehlaniepnkrafthiebabang nnkhux e 3v 6 tha v 3khunsmbtiphiessxun khwamsmphnthrahwangcanwncudyxdaelaesnechuxm swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarthdsxbkhwamsmsnthan swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarrabaysi swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkrafkhukn swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidbthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk