กระดูกสันอก (อังกฤษ: Sternum) เป็นกระดูกชนิด (Flat bone) ที่วางตัวอยู่ตรงกลางของทรวงอก และติดต่อกับกระดูกซี่โครงโดยข้อต่อและ (costas cartilage) เพื่อประกอบขึ้นเป็นโครงร่างแข็งของ เพื่อป้องกันโครงสร้างที่อยู่ภายในช่องอกจากการกระทบกระเทือน นอกจากนี้ยังมีข้อต่อกับกระดูกไหปลาร้า (clavicle) ซึ่งเป็นกระดูกที่ค้ำจุนส่วนไหล่อีกด้วย
กระดูกสันอก (Sternum) | |
---|---|
มุมมองทางด้านหน้าของกระดูกสันอกและกระดูกอ่อนซี่โครง | |
มุมมองทางด้านหลังของกระดูกสันอก | |
ตัวระบุ | |
MeSH | D013249 |
TA98 | A02.3.03.001 |
TA2 | 1129 |
FMA | 7485 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
กายวิภาคศาสตร์
ลักษณะทั่วไป
กระดูกสันอกมีลักษณะยาวและแบน และเป็นกระดูกที่อยู่ตรงกลางของผนังทางด้านหน้าของช่องอก กระดูกสันอกในผู้ใหญ่จะมีความยาวเฉลี่ยประมาณ 17 เซนติเมตร และกระดูกสันอกของเพศชายจะยาวกว่าเพศหญิงเล็กน้อย ทางด้านบนสุดรองรับกระดูกไหปลาร้าโดยข้อต่อสเตอร์โนคลาวิคิวลาร์ (sternoclavicular joint) ขอบด้านข้างจะมีรอยที่เป็นข้อต่อกับ และทางด้านบนสุดจะเป็นจุดเกาะต้นส่วนหนึ่งของกล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์ (sternocleidomastoid muscle)
ส่วนต่างๆ ของกระดูกสันอก
กระดูกสันอกจะประกอบด้วยสามส่วน ได้แก่
- แมนูเบรียม (Manubrium) เป็นส่วนบนของกระดูกสันอก และมีส่วนที่ติดต่อกับกระดูกไหปลาร้า กระดูกซี่โครงซี่ที่ 1 และครึ่งหนึ่งของกระดูกซี่โครงซี่ที่ 2 ทางด้านบนสุดยังมีรอยเว้าที่สามารถคลำได้จากภายนอก ซึ่งรอยเว้านี้คือ (suprasternal notch)
- บอดี้ (Body) เป็นส่วนกลางของกระดูกสันอก ซึ่งขอบด้านข้างจะมีการติดต่อกับ พื้นผิวทางด้านหลังยังเป็นจุดเกาะต้นของ (transversus thoracis muscle) ด้วย
- ซิฟอยด์ โปรเซส (Xiphoid process) หรือลิ้นปี่ ซึ่งเป็นปลายทางด้านล่างสุดของกระดูกสันอก และมีจุดเกาะกับกะบังลม
ส่วนต่อกันระหว่างส่วนแมนูเบรียมและส่วนบอดี้ จะมีความโค้งนูนออกมาเล็กน้อย ซึ่งสามารถคลำได้จากภายนอก บริเวณดังกล่าวนี้เรียกว่า มุมกระดูกสันอก (sternal angle) ซึ่งเป็นจุดอ้างอิงถึงกระดูกซี่โครงซี่ที่ 2 และมีประโยชน์ในการตรวจร่างกายส่วนอก
การบาดเจ็บของกระดูกสันอก
การบาดเจ็บหรือการแตกหักของกระดูกสันอกนั้นพบได้ไม่บ่อย แต่มักมีสาเหตุมาจากอุบัติเหตุ เช่นการกระแทกกับพวงมาลัยในกรณีของอุบัติเหตุทางรถยนต์ การแตกหักของกระดูกสันอกมักจะทำให้เกิดเศษกระดูกชิ้นเล็กน้อย จุดที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดการหักของกระดูกสันอกมากที่สุดคือที่บริเวณมุมกระดูกสันอก ซึ่งเป็นส่วนที่ยื่นออกมาทางด้านหน้ามากที่สุดและมีความแคบมากที่สุดด้วย
รูปประกอบเพิ่มเติม
- โครงกระดูกของผนังช่องอก
- ขอบทางด้านข้างของกระดูกสันอก
- ข้อต่อสเตอร์โนคลาวิคิวลาร์ (มุมมองทางด้านหน้า)
อ้างอิง
- Clinically Oriented Anatomy, 4th ed. Keith L. Moore and Arthur F. Dalley.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kraduksnxk xngkvs Sternum epnkradukchnid Flat bone thiwangtwxyutrngklangkhxngthrwngxk aelatidtxkbkraduksiokhrngodykhxtxaela costas cartilage ephuxprakxbkhunepnokhrngrangaekhngkhxng ephuxpxngknokhrngsrangthixyuphayinchxngxkcakkarkrathbkraethuxn nxkcakniyngmikhxtxkbkradukihplara clavicle sungepnkradukthikhacunswnihlxikdwykraduksnxk Sternum mummxngthangdanhnakhxngkraduksnxkaelakradukxxnsiokhrngmummxngthangdanhlngkhxngkraduksnxktwrabuMeSHD013249TA98A02 3 03 001TA21129FMA7485 aekikhbnwikisneths kaywiphakhsastrlksnathwip kraduksnxkmilksnayawaelaaebn aelaepnkradukthixyutrngklangkhxngphnngthangdanhnakhxngchxngxk kraduksnxkinphuihycamikhwamyawechliypraman 17 esntiemtr aelakraduksnxkkhxngephschaycayawkwaephshyingelknxy thangdanbnsudrxngrbkradukihplaraodykhxtxsetxronkhlawikhiwlar sternoclavicular joint khxbdankhangcamirxythiepnkhxtxkb aelathangdanbnsudcaepncudekaatnswnhnungkhxngklamenuxsetxronikhlodmastxyd sternocleidomastoid muscle swntang khxngkraduksnxk kraduksnxkcaprakxbdwysamswn idaek aemnuebriym Manubrium epnswnbnkhxngkraduksnxk aelamiswnthitidtxkbkradukihplara kraduksiokhrngsithi 1 aelakhrunghnungkhxngkraduksiokhrngsithi 2 thangdanbnsudyngmirxyewathisamarthkhlaidcakphaynxk sungrxyewanikhux suprasternal notch bxdi Body epnswnklangkhxngkraduksnxk sungkhxbdankhangcamikartidtxkb phunphiwthangdanhlngyngepncudekaatnkhxng transversus thoracis muscle dwy sifxyd opress Xiphoid process hruxlinpi sungepnplaythangdanlangsudkhxngkraduksnxk aelamicudekaakbkabnglm swntxknrahwangswnaemnuebriymaelaswnbxdi camikhwamokhngnunxxkmaelknxy sungsamarthkhlaidcakphaynxk briewndngklawnieriykwa mumkraduksnxk sternal angle sungepncudxangxingthungkraduksiokhrngsithi 2 aelamipraoychninkartrwcrangkayswnxkkarbadecbkhxngkraduksnxkkarbadecbhruxkaraetkhkkhxngkraduksnxknnphbidimbxy aetmkmisaehtumacakxubtiehtu echnkarkraaethkkbphwngmalyinkrnikhxngxubtiehtuthangrthynt karaetkhkkhxngkraduksnxkmkcathaihekidesskradukchinelknxy cudthimikhwamesiyngthicaekidkarhkkhxngkraduksnxkmakthisudkhuxthibriewnmumkraduksnxk sungepnswnthiyunxxkmathangdanhnamakthisudaelamikhwamaekhbmakthisuddwyrupprakxbephimetimokhrngkradukkhxngphnngchxngxk khxbthangdankhangkhxngkraduksnxk khxtxsetxronkhlawikhiwlar mummxngthangdanhna xangxingClinically Oriented Anatomy 4th ed Keith L Moore and Arthur F Dalley