ไซแนปส์ไฟฟ้า (อังกฤษ: electrical Synapse) เป็นไซแนปส์ชนิดที่ไม่ได้ใช้สารเคมีในการสื่อสารระหว่างไซแนปส์เช่นใน (chemical synapse)
โครงสร้างและการทำงาน
ไซแนปส์ไฟฟ้ามีโครงสร้างและการทำงานที่ไม่ซับซ้อนโดยเกิดจากการเคลื่อนย้ายกระแสไฟฟ้าระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกันผ่านทาง (Gap junction) ที่บริเวณแกปจังชั่นนี้โปรตีนที่ทำให้เกิดเป็นช่องให้ไอออนไหลผ่านเรียกว่า (connexin) และระยะห่างระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ที่เกิดไซแนปส์ไฟฟ้ามีเพียงประมาณ 3 นาโนเมตร โปรตีนคอนเน็กซิน 6 โมเลกุลรวมตัวกันเป็นช่อง (channel) เรียกว่า (connexon) เซลล์ที่หนึ่งส่งคอนเน็กซอนรวมกับเซลล์ที่สองซึ่งคอนเน็กซอนสองอันของเซลล์ที่เกิดไซแนปส์ไฟฟ้ารวมกันเรียกว่า ช่องแกปจังชั่น (Gap junction channel) ช่องแกปจังชั่นมีความกว้างประมาณ 1-2 นาโนเมตรซึ่งกว้างพอที่ไอออนชนิดต่างๆ ที่ละลายอยู่ไหนไซโตพลาสซึมสามารถแพร่ผ่านช่องนี้ไปได้โดยตรง
การนำกระแสประสาท
เนื่องจากกระแสไอออนสามารถเคลื่อนตัวผ่านช่องแกปจังชั่นได้อิสระระหว่างสองเซลล์ทำให้กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้ทั้งสองทิศทางซึ่งต่างจากไซแนปส์เคมีที่เกิดได้เพียงทิศทางเดียว คือ จาก (presynaptic neuron) ไปยัง (postsynaptic neuron) การมีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้ทั้งสองทิศทางนี้เรียกว่าเกิด electrically coupled การส่งสัญญาณประสาทระหว่างไซแนปส์ไฟฟ้าเกิดได้เร็วมากกล่าวคือเมื่อเกิด (action potential) ในเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ก็สามารถกระตุ้นการเกิดแอกชั่นโพเทนเชียลในเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ได้ทันที ไซแนปส์ไฟฟ้านี้มีประโยชน์มากใน เช่น crayfish ซึ่งอาจพบไซแนปส์ไฟฟ้าได้ระหว่าง (sensory neuron) กับเซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) ในวิถีการนำประสาทรีเฟล็กซ์ที่ช่วยในการหนีภายเมื่อถูกคุกคามจากศัตรู
ผลต่อศักย์ไฟฟ้าหลังไซแนปส์
การศึกษาเมื่อไม่หลายปีมานี้พบว่ามีไซแนปส์ไฟฟ้าทั่วไปในระบบประสาทส่วนกลางของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เมื่อเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์เกิดขึ้นก็ทำให้เกิดการไหลผ่านของไอออนผ่านช่องแกปจังชั่นไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆ กระแสไฟฟ้านี้ทำให้เซลล์ประสาทตัวที่สองเกิด (postsynaptic potential; PSP) เนื่องจากไซแนปส์ไฟฟ้าทำให้กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้ทั้งสองทิศทางโดยเมื่อเซลล์ประสาทตัวที่สองเกิดแอกชั่นโพเทนเชียลแล้วก็สามารถเหนี่ยวนำให้เซลล์ประสาทตัวที่แรกเกิดศักย์ไฟฟ้าหลังไซแนปส์ได้เช่นกัน ศักย์ไฟฟ้าหลังไซแนปส์ที่เกิดจากไซแนปส์ไฟฟ้าเพียงตำแหน่งเดียวมีค่าต่ำประมาณ 1 มิลลิโวลต์ หรือน้อยกว่านี้ ซึ่งไม่เพียงพอที่จะทำให้เซลล์ประสาทเกิดแอกชั่นโพเทนเชียลขึ้นได้ แต่โดยทั่วไปเซลล์ประสาทมักเกิดไซแนปส์ไฟฟ้าหลายตำแหน่งกับเซลล์ประสาทหลายเซลล์ที่อยู่รอบข้าง ดังนั้นค่าศักย์ไฟฟ้าหลังไซแนปส์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันหลายตำแหน่งรวมกันจึงสูงพอที่จะทำให้เซลล์ประสาทเกิดแอกชั่นโพเทนเชียลขึ้นได้ ซึ่งคุณสมบัติสำคัญของเซลล์ประสาทในการรวมสัญญาณที่เกิดขึ้นหลังไซแนปส์นี้เราเรียกว่า การรวมกันของสัญญาณผ่านไซแนปส์หรือ (synaptic integration)
ความสำคัญในระยะตัวอ่อน
บทบาทหน้าที่ของไซแนปส์ไฟฟ้าแตกต่างกันไปในสมองแต่ละบริเวณซึ่งส่วนใหญ่พบไซแนปส์ไฟฟ้าได้ในสมองส่วนที่มีการกระตุ้นการทำงานของเซลล์ประสาทเป็นกลุ่มพร้อมๆ กัน ในช่วงการเจริญพัฒนาของตัวอ่อน (เอ็มบริโอ) ในระยะต่างๆ นั้นไซแนปส์ไฟฟ้ามีส่วนสำคัญในการสื่อสารระหว่างเซลล์ โดยสัญญาณไฟฟ้าและสัญญาณเคมีจะถูกส่งผ่านช่องแกปจังชั่นเพื่อช่วยสื่อสารการทำงานของเซลล์ประสาทในกระบวนการเจริญพัฒนาของสมอง นอกจากนี้แกปจังชั่นยังสามารถพบได้ในเซลล์ที่ไม่ใช่เซลล์ประสาท เช่น เซลล์เกลีย เซลล์กล้ามเนื้อเรียบและกล้ามเนื้อหัวใจ เซลล์ตับ และเซลล์ในต่อมต่างๆ เป็นต้น
อ้างอิง
- Mark Bear, Mark F. Bear, Barry W. Connors, Michael A. Paradiso (2001). Neuroscience: Exploring the Brain. Hagerstown, MD: Lippincott Williams & Wilkins.
- Eric R. Kandel, James H. Schwartz, Thomas M. Jessell (2000). Principles of Neural Science, 4th edition, New York: McGraw-Hill.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
isaenpsiffa xngkvs electrical Synapse epnisaenpschnidthiimidichsarekhmiinkarsuxsarrahwangisaenpsechnin chemical synapse aekp cngchnokhrngsrangaelakarthanganisaenpsiffamiokhrngsrangaelakarthanganthiimsbsxnodyekidcakkarekhluxnyaykraaesiffarahwangesllthixyutidknphanthang Gap junction thibriewnaekpcngchnnioprtinthithaihekidepnchxngihixxxnihlphaneriykwa connexin aelarayahangrahwangeyuxhumesllkhxngesllthiekidisaenpsiffamiephiyngpraman 3 naonemtr oprtinkhxnenksin 6 omelkulrwmtwknepnchxng channel eriykwa connexon esllthihnungsngkhxnenksxnrwmkbesllthisxngsungkhxnenksxnsxngxnkhxngesllthiekidisaenpsiffarwmkneriykwa chxngaekpcngchn Gap junction channel chxngaekpcngchnmikhwamkwangpraman 1 2 naonemtrsungkwangphxthiixxxnchnidtang thilalayxyuihnisotphlassumsamarthaephrphanchxngniipidodytrngkarnakraaesprasathenuxngcakkraaesixxxnsamarthekhluxntwphanchxngaekpcngchnidxisrarahwangsxngesllthaihkraaesiffaekidkhunidthngsxngthisthangsungtangcakisaenpsekhmithiekididephiyngthisthangediyw khux cak presynaptic neuron ipyng postsynaptic neuron karmikraaesiffaekidkhunidthngsxngthisthangnieriykwaekid electrically coupled karsngsyyanprasathrahwangisaenpsiffaekididerwmakklawkhuxemuxekid action potential inesllprasathkxnisaenpsksamarthkratunkarekidaexkchnophethnechiylinesllprasathhlngisaenpsidthnthi isaenpsiffanimipraoychnmakin echn crayfish sungxacphbisaenpsiffaidrahwang sensory neuron kbesllprasathsngkar motor neuron inwithikarnaprasathrieflksthichwyinkarhniphayemuxthukkhukkhamcakstruphltxskyiffahlngisaenpskarsuksaemuximhlaypimaniphbwamiisaenpsiffathwipinrabbprasathswnklangkhxngstweliynglukdwynm emuxesllprasathkxnisaenpsekidkhunkthaihekidkarihlphankhxngixxxnphanchxngaekpcngchnipyngesllprasathxun kraaesiffanithaihesllprasathtwthisxngekid postsynaptic potential PSP enuxngcakisaenpsiffathaihkraaesiffaekidkhunidthngsxngthisthangodyemuxesllprasathtwthisxngekidaexkchnophethnechiylaelwksamarthehniywnaihesllprasathtwthiaerkekidskyiffahlngisaenpsidechnkn skyiffahlngisaenpsthiekidcakisaenpsiffaephiyngtaaehnngediywmikhatapraman 1 milliowlt hruxnxykwani sungimephiyngphxthicathaihesllprasathekidaexkchnophethnechiylkhunid aetodythwipesllprasathmkekidisaenpsiffahlaytaaehnngkbesllprasathhlayesllthixyurxbkhang dngnnkhaskyiffahlngisaenpsthiekidkhunphrxmknhlaytaaehnngrwmkncungsungphxthicathaihesllprasathekidaexkchnophethnechiylkhunid sungkhunsmbtisakhykhxngesllprasathinkarrwmsyyanthiekidkhunhlngisaenpsnieraeriykwa karrwmknkhxngsyyanphanisaenpshrux synaptic integration khwamsakhyinrayatwxxnbthbathhnathikhxngisaenpsiffaaetktangknipinsmxngaetlabriewnsungswnihyphbisaenpsiffaidinsmxngswnthimikarkratunkarthangankhxngesllprasathepnklumphrxm kn inchwngkarecriyphthnakhxngtwxxn exmbriox inrayatang nnisaenpsiffamiswnsakhyinkarsuxsarrahwangesll odysyyaniffaaelasyyanekhmicathuksngphanchxngaekpcngchnephuxchwysuxsarkarthangankhxngesllprasathinkrabwnkarecriyphthnakhxngsmxng nxkcakniaekpcngchnyngsamarthphbidinesllthiimichesllprasath echn esllekliy esllklamenuxeriybaelaklamenuxhwic eslltb aelaesllintxmtang epntnxangxingMark Bear Mark F Bear Barry W Connors Michael A Paradiso 2001 Neuroscience Exploring the Brain Hagerstown MD Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 0 7817 3944 6 Eric R Kandel James H Schwartz Thomas M Jessell 2000 Principles of Neural Science 4th edition New York McGraw Hill ISBN 0 8385 7701 6