ใจกลาง หรือ เคอร์เนล (อังกฤษ: kernel) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็นแกนกลางของระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปแล้ว ใจกลางจะสามารถควบคุมทุกอย่างในระบบได้อย่างสมบูรณ์ ใจกลางยังรับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาข้อขัดแย้งระหว่างกระบวนการต่างๆ อีกด้วย ใจกลางเป็นส่วนระบบปฏิบัติการที่จะคงอยู่ในหน่วยความจำเสมอ และอำนวยความสะดวกในการโต้ตอบระหว่างส่วนประกอบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ใจกลางแบบเต็มจะควบคุมทรัพยากรฮาร์ดแวร์ทั้งหมด (เช่น (อินพุต/เอาต์พุต) หน่วยความจำ การเข้ารหัส) ผ่านโปรแกรมขับอุปกรณ์ ไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งระหว่างกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรดังกล่าว และปรับการใช้ทรัพยากรทั่วไปให้เหมาะสม เช่น การใช้หน่วยประมวลผลกลางกับแคช ระบบไฟล์ และซ็อกเก็ตเครือข่าย ในระบบส่วนใหญ่ ใจกลางเป็นหนึ่งในโปรแกรมแรกๆ ที่โหลดเมื่อ เริ่มต้นระบบ (หลังจาก บูตโหลดเดอร์) โดยจะจัดการส่วนที่เหลือของการเริ่มต้นระบบ เช่นเดียวกับหน่วยความจำ และคำขอ อินพุต/เอาท์พุต จากซอฟต์แวร์ โดยแปลเป็นคำสั่งในการประมวลผล ข้อมูลสำหรับ หน่วยประมวลผลกลาง
โดยปกติรหัสสำคัญของใจกลางจะถูกโหลดลงในพื้นที่หน่วยความจำแยกต่างหาก ซึ่งได้รับการป้องกันจากการเข้าถึงโดยโปรแกรมประยุกต์หรือส่วนอื่นๆ ที่มีความสำคัญน้อยกว่าของระบบปฏิบัติการ ใจกลางดำเนินงานต่างๆ เช่น กระบวนการที่ทำงานอยู่ การจัดการอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ และการจัดการการขัดจังหวะใน ที่ได้รับการป้องกันนี้ ในทางตรงกันข้าม โปรแกรมประยุกต์ เช่น เบราว์เซอร์ โปรแกรมประมวลผลคำ หรือเครื่องเล่นเสียงหรือวิดีโอ จะใช้พื้นที่หน่วยความจำ แยกต่างหาก การแยกนี้ป้องกันไม่ให้ข้อมูลผู้ใช้และข้อมูลใจกลางรบกวนซึ่งกันและกัน ซึ่งอาจทำให้เกิดความไม่เสถียรหรือความช้า รวมถึงป้องกันไม่ให้โปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานผิดปกติส่งผลกระทบต่อโปรแกรมประยุกต์อื่นหรือทำให้ระบบปฏิบัติการเสียหายทั้งหมด แม้ในระบบที่ใจกลางรวมอยู่ในของโปรแกรมประยุกต์ ก็ยังถูกใช้เพื่อป้องกันไม่ให้โปรแกรมประยุกต์ที่ไม่ได้รับอนุญาตแก้ไขใจกลาง
ใจกลางนี้มีหน้าที่รับผิดชอบในการรันโปรแกรม ใจกลางทำหน้าที่ตัดสินใจว่าควรมอบหมายโปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ให้กับโปรเซสเซอร์ตัวใด
หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม
หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (RAM) ใช้เพื่อจัดเก็บทั้งคำสั่งโปรแกรมและข้อมูล โดยทั่วไปแล้ว ทั้งสองจะต้องมีอยู่ในหน่วยความจำเพื่อให้โปรแกรมดำเนินการได้ บ่อยครั้งที่หลายโปรแกรมต้องการเข้าถึงหน่วยความจำ โดยมักต้องการหน่วยความจำมากกว่าที่คอมพิวเตอร์มีอยู่ ใจกลางมีหน้าที่ในการตัดสินใจเลือกหน่วยความจำที่แต่ละกระบวนการสามารถใช้ได้ และกำหนดสิ่งที่ต้องทำเมื่อมีหน่วยความจำไม่เพียงพอ
อุปกรณ์อินพุต/เอาท์พุต
ใจกลางเตรียมวิธีการที่สะดวกสำหรับโปรแกรมประยุกต์ในการใช้อุปกรณ์อินพุต/เอาท์พุต เช่น อุปกรณ์ต่อพ่วง (แป้นพิมพ์ เมาส์ ดิสก์ไดรฟ์ เครื่องพิมพ์ อุปกรณ์ยูเอสบี อะแดปเตอร์เครือข่าย และอื่นๆ) ซึ่งโดยทั่วไปแล้วใจกลางจะแยกออกมา ทำให้โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ จะไม่จำเป็นต้องทราบรายละเอียดการใช้งาน
แนวทางการออกแบบใจกลาง
ใจกลางแบบโมโนลิทิก (Monolithic kernel)
ในใจกลางแบบโมโนลิทิก บริการระบบปฏิบัติการทั้งหมดทำงานพร้อมกับเคอร์เนลเธรดหลัก ดังนั้นจึงอยู่ในพื้นที่หน่วยความจำเดียวกันด้วย แนวทางนี้ให้การเข้าถึงฮาร์ดแวร์ที่สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ ผู้พัฒนายูนิกซ์ ระบุว่า "ในความเห็น [ของเขา] ใจกลางแบบโมโนลิทิกนั้นนำไปใช้ได้ง่ายกว่า" ข้อเสียเปรียบหลักของใจกลางแบบโมโนลิทิกคือการพึ่งพาระหว่างส่วนประกอบของระบบ – จุดบกพร่องในโปรแกรมขับอุปกรณ์อาจทำให้ระบบเสียหายทั้งหมด – และความจริงที่ว่าใจกลางแบบโมโนลิทิกนั้นยากต่อการดูแลรักษา ทอมป์สันยังระบุด้วยว่า "[ใจกลางแบบโมโนลิทิก]เนี่ย ถ้าไม่ระมัดระวังก็มีสิทธิจะเละตุ้มเป๊ะ"
ใจกลางแบบโมโนลิทิกสมัยใหม่ เช่นใจกลางลินุกซ์, ใจกลางฟรีบีเอสดี, ใจกลาง, ใจกลาง และใจกลาง Solaris ซึ่งทั้งหมดนี้จัดอยู่ในหมวดหมู่ของระบบปฏิบัติการเหมือนยูนิกซ์ รองรับ ทำให้โมดูลต่างๆ เพื่อโหลดลงในใจกลางขณะรันไทม์ ทำให้สามารถขยายขีดความสามารถของใจกลางได้ง่ายตามต้องการ ขณะเดียวกันก็ช่วยลดปริมาณรหัสที่ทำงานในพื้นที่ใจกลางให้เหลือน้อยที่สุด
ไมโครเคอร์เนล (Microkernel)
ไมโครเคอร์เนล เป็นเคอร์เนลที่แบ่งการทำงานในแต่ละภาคส่วนออกจากกัน ตัวอย่างเช่น แบ่งส่วนของซอฟต์แวร์ประยุกต์ ส่วนของอุปกรณ์ ส่วนจัดการไฟล์ ฯลฯ ในทางทฤษฎีไมโครเคอร์เนลมีความเสถียรสูงเนื่องจากแบ่งการทำงานทุกภาคส่วนออกจากกัน แต่มีข้อเสียคือเรียกประสิทธิภาพของระบบออกมาได้ไม่เต็มที่
ตัวอย่างของไมโครเคอร์เนล และ ระบบปฏิบัติการที่มีพื้นบน ไมโครเคอร์เนล:
- AIX
- AmigaOS
- Amoeba
- Chorus microkernel
- EROS
- Haiku
- K42
- LSE/OS
- KeyKOS
- The L4 microkernel family
- Mach, used in GNU Hurd, NEXTSTEP, OPENSTEP, and Mac OS X
- MERT
- Minix
- MorphOS
- NewOS
- QNX
- Phoenix-RTOS
- RadiOS
- Spring operating system
- VSTa
- Symbian OS
เคอร์เนลแบบผสม (Hybrid kernel)
เคอร์เนลแบบผสม เป็นเคอร์เนลที่รวมความสามารถของไมโครเคอร์เนลและโมโนลิทิกเคอร์เนลเข้าด้วยกันเพื่อเลียนแบบประสิทธิภาพและเสถียรภาพของโมโนลิทิกเคอร์เนลและไมโครเคอร์เนล
- kernel
- kernel
- NetWare kernel
- Plan 9 kernel
- kernel
- (Windows 2000, Windows XP, Windows 2003, and Windows Vista)
- kernel (ใช้ใน Mac OS X)
หมายเหตุ
- ตามระบบศัพท์บัญญัติ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
- ขึ้นอยู่กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
อ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติ ๔๐ สาขาวิชา สำนักงานราชบัณฑิตยสภา".
{{}}
: CS1 maint: url-status () - "Kernel". Linfo. Bellevue Linux Users Group. จากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2006. สืบค้นเมื่อ 15 September 2016.
- Randal E. Bryant; David R. O'Hallaron (2016). Computer Systems: A Programmer's Perspective (Third ed.). Pearson. p. 17. ISBN .
- "Open Sources: Voices from the Open Source Revolution". 1-56592-582-3. 29 March 1999. จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 February 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2019.
- , Operating Systems - Design and Implementation (Third edition) ;
- Andrew Tanenbaum, Modern Operating Systems (Second edition) ;
- , , The Linux Kernel;
- , , Patterson, Computer Organization and Design, () ;
- , Computer Organisation and Architecture, Macmillan P. ().
แหล่งข้อมูลอื่น
- Kernel คืออะไร - แหล่งข้อมูลความรู้ภาษาไทย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
icklang hrux ekhxrenl xngkvs kernel epnopraekrmkhxmphiwetxrthiepnaeknklangkhxngrabbptibtikarkhxngkhxmphiwetxr odythwipaelw icklangcasamarthkhwbkhumthukxyanginrabbidxyangsmburn icklangyngrbphidchxbinkarpxngknaelabrrethakhxkhdaeyngrahwangkrabwnkartang xikdwy icklangepnswnrabbptibtikarthicakhngxyuinhnwykhwamcaesmx aelaxanwykhwamsadwkinkarottxbrahwangswnprakxbhardaewraelasxftaewr icklangaebbetmcakhwbkhumthrphyakrhardaewrthnghmd echn xinphut exatphut hnwykhwamca karekharhs phanopraekrmkhbxupkrn iklekliykhxkhdaeyngrahwangkrabwnkarthiekiywkhxngkbthrphyakrdngklaw aelaprbkarichthrphyakrthwipihehmaasm echn karichhnwypramwlphlklangkbaekhch rabbifl aelasxkektekhruxkhay inrabbswnihy icklangepnhnunginopraekrmaerk thiohldemux erimtnrabb hlngcak butohldedxr odycacdkarswnthiehluxkhxngkarerimtnrabb echnediywkbhnwykhwamca aelakhakhx xinphut exathphut caksxftaewr odyaeplepnkhasnginkarpramwlphl khxmulsahrb hnwypramwlphlklangaephnphaphodysngekhpaesdngkarthiicklangechuxmtxopraekrmprayuktkbhardaewrkhxngkhxmphiwetxr odypktirhssakhykhxngicklangcathukohldlnginphunthihnwykhwamcaaeyktanghak sungidrbkarpxngkncakkarekhathungodyopraekrmprayukthruxswnxun thimikhwamsakhynxykwakhxngrabbptibtikar icklangdaeninngantang echn krabwnkarthithanganxyu karcdkarxupkrnhardaewr echn harddisk aelakarcdkarkarkhdcnghwain thiidrbkarpxngknni inthangtrngknkham opraekrmprayukt echn ebrawesxr opraekrmpramwlphlkha hruxekhruxngelnesiynghruxwidiox caichphunthihnwykhwamca aeyktanghak karaeyknipxngknimihkhxmulphuichaelakhxmulicklangrbkwnsungknaelakn sungxacthaihekidkhwamimesthiyrhruxkhwamcha rwmthungpxngknimihopraekrmprayuktthithanganphidpktisngphlkrathbtxopraekrmprayuktxunhruxthaihrabbptibtikaresiyhaythnghmd aeminrabbthiicklangrwmxyuinkhxngopraekrmprayukt kyngthukichephuxpxngknimihopraekrmprayuktthiimidrbxnuyataekikhicklang icklangnimihnathirbphidchxbinkarrnopraekrm icklangthahnathitdsinicwakhwrmxbhmayopraekrmthikalngthanganxyuihkbopressesxrtwidhnwykhwamcaekhathungodysumhnwykhwamcaekhathungodysum RAM ichephuxcdekbthngkhasngopraekrmaelakhxmul odythwipaelw thngsxngcatxngmixyuinhnwykhwamcaephuxihopraekrmdaeninkarid bxykhrngthihlayopraekrmtxngkarekhathunghnwykhwamca odymktxngkarhnwykhwamcamakkwathikhxmphiwetxrmixyu icklangmihnathiinkartdsiniceluxkhnwykhwamcathiaetlakrabwnkarsamarthichid aelakahndsingthitxngthaemuxmihnwykhwamcaimephiyngphxxupkrnxinphut exathphuticklangetriymwithikarthisadwksahrbopraekrmprayuktinkarichxupkrnxinphut exathphut echn xupkrntxphwng aepnphimph emas diskidrf ekhruxngphimph xupkrnyuexsbi xaaedpetxrekhruxkhay aelaxun sungodythwipaelwicklangcaaeykxxkma thaihopraekrmprayukttang caimcaepntxngthrabraylaexiydkarichnganaenwthangkarxxkaebbicklangaephnphngkhxngicklangaebbomonlithikicklangaebbomonlithik Monolithic kernel inicklangaebbomonlithik brikarrabbptibtikarthnghmdthanganphrxmkbekhxrenlethrdhlk dngnncungxyuinphunthihnwykhwamcaediywkndwy aenwthangniihkarekhathunghardaewrthismburnaelamiprasiththiphaph phuphthnayuniks rabuwa inkhwamehn khxngekha icklangaebbomonlithiknnnaipichidngaykwa khxesiyepriybhlkkhxngicklangaebbomonlithikkhuxkarphungpharahwangswnprakxbkhxngrabb cudbkphrxnginopraekrmkhbxupkrnxacthaihrabbesiyhaythnghmd aelakhwamcringthiwaicklangaebbomonlithiknnyaktxkarduaelrksa thxmpsnyngrabudwywa icklangaebbomonlithik eniy thaimramdrawngkmisiththicaelatumepa icklangaebbomonlithiksmyihm echnicklanglinuks icklangfribiexsdi icklang icklang aelaicklang Solaris sungthnghmdnicdxyuinhmwdhmukhxngrabbptibtikarehmuxnyuniks rxngrb thaihomdultang ephuxohldlnginicklangkhnarnithm thaihsamarthkhyaykhidkhwamsamarthkhxngicklangidngaytamtxngkar khnaediywknkchwyldprimanrhsthithanganinphunthiicklangihehluxnxythisud imokhrekhxrenl Microkernel rupphaphaesdnghlkkarthangankhxngimokhrekhxrenl imokhrekhxrenl epnekhxrenlthiaebngkarthanganinaetlaphakhswnxxkcakkn twxyangechn aebngswnkhxngsxftaewrprayukt swnkhxngxupkrn swncdkarifl l inthangthvsdiimokhrekhxrenlmikhwamesthiyrsungenuxngcakaebngkarthanganthukphakhswnxxkcakkn aetmikhxesiykhuxeriykprasiththiphaphkhxngrabbxxkmaidimetmthi twxyangkhxngimokhrekhxrenl aela rabbptibtikarthimiphunbn imokhrekhxrenl AIX AmigaOS Amoeba Chorus microkernel EROS Haiku K42 LSE OS KeyKOS The L4 microkernel family Mach used in GNU Hurd NEXTSTEP OPENSTEP and Mac OS X MERT Minix MorphOS NewOS QNX Phoenix RTOS RadiOS Spring operating system VSTa Symbian OSekhxrenlaebbphsm Hybrid kernel ekhxrenlaebbphsm epnekhxrenlthirwmkhwamsamarthkhxngimokhrekhxrenlaelaomonlithikekhxrenlekhadwyknephuxeliynaebbprasiththiphaphaelaesthiyrphaphkhxngomonlithikekhxrenlaelaimokhrekhxrenl kernel kernel NetWare kernel Plan 9 kernel kernel Windows 2000 Windows XP Windows 2003 and Windows Vista kernel ichin Mac OS X hmayehtutamrabbsphthbyyti sanknganrachbnthityspha khunxyukbsthaptykrrmkhxmphiwetxrxangxing sphthbyyti 40 sakhawicha sanknganrachbnthityspha a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk Kernel Linfo Bellevue Linux Users Group cakaehlngedimemux 8 December 2006 subkhnemux 15 September 2016 Randal E Bryant David R O Hallaron 2016 Computer Systems A Programmer s Perspective Third ed Pearson p 17 ISBN 978 0 13 409266 9 Open Sources Voices from the Open Source Revolution 1 56592 582 3 29 March 1999 cakaehlngedimemux 1 February 2020 subkhnemux 24 March 2019 Operating Systems Design and Implementation Third edition Andrew Tanenbaum Modern Operating Systems Second edition The Linux Kernel Patterson Computer Organization and Design ISBN 1 55860 428 6 Computer Organisation and Architecture Macmillan P ISBN 0 333 64551 0 aehlngkhxmulxunKernel khuxxair aehlngkhxmulkhwamruphasaithy