เรณูวิทยาในชั้นหิน (อังกฤษ: Stratigraphic palynology หรือ อังกฤษ: Geological palynology) เป็นวิทยาศาสตร์ที่นักธรณีวิทยาศึกษาเกี่ยวกับของสิ่งมีชีวิตปัจจุบันและซากดึกดำบรรพ์เพื่อศึกษาหาอายุเปรียบเทียบและการลำดับชั้นหิน จากซากเหลือของ ละอองเรณู (pollen) สปอร์ (spores) ไดโนแฟลกเจลเลต (dinoflagellates: resting cysts หรือ hypnozygote) อาคริทาร์ช (acritarchs) ไคตินโนซัว (chitinozoans) และสโคเลโคดอนต์ (scolecodonts) รวมไปถึง (other microfossils) และเคอโรเจนที่มีลักษณะเฉพาะที่พบในตะกอนและหินตะกอน บางครั้งการศึกษาเรณูสัณฐาน (Palynomorphs) จะรวมถึงการศึกษาไดอะตอม (diatom) ฟอแรมมินิเฟอรา (microforaminifera) หรือสิ่งมีชีวิตอื่นที่มีโครงร่างภายนอกเป็นสารพวกซิลิก้าและเนื้อปูน (อ้างอิงจาก Palynology ที่ U. of AZ)
เรณูวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์เชิงสหวิทยาการและเป็นสาขาหนึ่งของธรณีวิทยาและชีววิทยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤกษศาสตร์ วิชาการลำดับชั้นหินทางเรณูวิทยาเป็นสาขาหนึ่งของวิชาบรรพชีวินวิทยาจุลภาคและพฤกษศาสตร์โบราณซึ่งศึกษาเกี่ยวกับซากดึกดำบรรพ์ของเรณูสัณฐานจากช่วงพรีแคมเบรียนตลอดจนถึงสมัยโฮโลซีน
ประวัติวิชาเรณูวิทยา
ประวัติเริ่มแรก
มีรายงานการค้นพบละอองเรณูภายใต้กล้องจุลทรรศน์เป็นครั้งแรกสุดในช่วงทศวรรษที่ 1640 โดย นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษเป็นผู้บรรยายลักษณะของละอองเรณู เกสรตัวผู้ และเป็นผู้ทำนายได้อย่างถูกต้องว่าละอองเรณูเป็นสิ่งจำเป็นในการสืบพันธุ์ของพืชทั้งหลาย กล้องจุลทรรศน์ได้เข้ามามีบทบาทในการศึกษาเรณูวิทยามากยิ่งขึ้นรวมไปถึงผลงานของโรเบิร์ต คิดสตัน และพี เรนช์ผู้ตรวจสอบพบสปอร์ในชั้นถ่านหินที่เปรียบเทียบได้กับสปอร์ของพืชปัจจุบัน ผู้บุกเบิกช่วงแรก ๆ ยังรวมถึงคริสเตียน กอทต์ฟรายด์ อีห์เรนเบิร์ก (ผู้ศึกษาเรดิโอลาเรียนและไดอะตอม) ไกเดียน แมนเทลล์ (ผู้ศึกษาสาหร่ายเดสมิด) และเฮนรี โฮฟเรย์ ไวต์ (ผู้ศึกษาไดโนแฟลกเจลเลต)
เรณูวิทยายุคใหม่
การวิเคราะห์ละอองเรณูเชิงปริมาณแรกสุดถูกตีพิมพ์โดยเลนนาร์ต วอง โพสต์ เป็นผู้วางรากฐานในการวิเคราะห์ละอองเรณูยุคใหม่ในการบรรยายที่คริสเตียนาของเขาในปี ค.ศ. 1916 การวิเคราะห์ละอองเรณูช่วงแรก ๆ ถูกจำกัดเฉพาะในแถบประเทศกลุ่มนอร์ดิกเนื่องจากการตีพิมพ์ในช่วงแรก ๆ จำนวนมากเป็นภาษานอร์ดิก การจำกัดการศึกษาจำกัดเฉพาะในหมู่ประเทศนอร์ดิกนี้ได้สิ้นจุดลงด้วยการตีพิมพ์วิทยานิพนธ์ของกุนนาร์ เอิร์ดมัน ในปี ค.ศ. 1921 เมื่อมีการวิเคราะห์ละอองเรณูอย่างแพร่หลายทั่วทั้งยุโรปและอเมริกาเหนือสำหรับใช้ในการศึกษาพืชพันธุ์และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศยุคควอเทอร์นารี
คำว่า “palynology” (มีความหมายว่า “เรณูวิทยา”) ถูกเสนอใช้โดยไฮด์ และวิลเลียม ในปี ค.ศ. 1944 (ตามการใช้โดยแอนเทฟส์ นักธรณีวิทยาชาวสวีเดน) ในหลายหน้าของเอกสารแจก (เป็นหนึ่งของวารสารฉบับแรก ๆ ที่อุทิศให้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางละอองเรณูผลิตโดยพอล เซียร์ ในอเมริกาเหนือ) ไฮด์และวิลเลียม เลือกคำว่า “palynology” บนพื้นฐานรากศัพท์ภาษากรีกโบราณจากคำว่า “paluno” หมายถึงการหว่านหรือพรมและ “pale” หมายถึงฝุ่นละออง (ซึ่งตรงกับคำว่า “pollen” ในภาษาละติน)
วิธีการศึกษา
เรณูสัณฐานมีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่มีผนังเป็นอินทรีย์สารมีขนาดระหว่าง 5 ถึง 500 ไมครอน สกัดออกมาจากหินและตะกอนทั้งโดยวิธีการทางกายภาพ (ด้วยการกรองและปรกติจะใช้คลื่นด้วย) และวิธีการทางเคมี (โดยการย่อยสลายด้วยสารเคมีแล้วแยกออกจากส่วนที่ไม่เป็นอินทรีย์วัตถุ)
การเตรียมทางเคมี
การย่อยสลายด้วยสารเคมีจะประกอบด้วยหลายขั้นตอน เริ่มต้นด้วยการแช่ตัวอย่างหินหรือตะกอนในสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เพื่อแยกกรดฮิวมิกออกมา ซึ่งจะทำให้เรณูสัณฐานจมตัวลงจากผิวของสารละลาย หรือโดยการใช้คลื่นอัลตราโซนิกที่อาจจะส่งผลกระทบสร้างความเสียหายต่อผนังเซลล์ของเรณูสัณฐานได้ การใช้กรดไฮโดรฟลูออริกย่อยสลายแร่ซิลิเกตถูกนำมาใช้โดยแอสซาร์สันและแกรนลุนด์ ในปี ค.ศ. 1924 ช่วยย่นเวลาในการค้นหาเรณูสัณฐานบนแผ่นสไลด์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์เป็นอย่างมาก การศึกษาทางเรณูวิทยาจากตัวอย่างพีตทำให้เห็นอินทรีย์วัตถุในสภาพที่สมบูรณ์ดีประกอบด้วยรากฝอยเล็ก ๆ ใบเล็ก ๆ ของมอสส์ และอินทรีย์สารอื่น ๆ วิธีการอะซีโตไลซีสถูกพัฒนาขึ้นโดยกุนนาร์ เอิร์ดมันกับน้องชายของเขา เพื่อย่อยสลายและแยกเอาวัตถุเซลลูโลสขนาดเล็ก ๆ ออกมา ในการทำอะซีโตไลซีสวัตถุจะทำปฏิกิริยากับสารเคมีอะซีติกแอนไฮไดรด์และกรดกำมะถันเพื่อย่อยสลายเซลลูโลสซึ่งจะทำให้เห็นเรณูสัณฐานได้ชัดเจนขึ้น
ในบางขั้นตอนทางเคมีมีความจำเป็นที่จะต้องเอาใจใส่เพื่อความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้กรดไฮโดรฟลูออริกซึ่งซึมผ่านผิวหนังได้อย่างรวดเร็วและทำให้ผิวหนังไหม้เกิดการพองบวมได้
มีวิธีการอื่น ๆ อีกอย่างเช่นการลอยตัวในเคอโรซีนสำหรับวัตถุจำพวกไคติน
การวิเคราะห์
เมื่อดำเนินการเตรียมตัวอย่างทางเคมีแล้ว ตัวอย่างจะถูกนำไปทำสไลด์กล้องจุลทรรศน์โดยการใช้น้ำมันซิลิโคน กลีเซอรอล หรือกลีเซอรอลเยลลี แล้วทำการตรวจสอบภายใต้กล้องจุลทรรศน์แสงหรือกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด
ปกตินักวิจัยจะทำการศึกษาจากตัวอย่างปัจจุบันจากหลาย ๆ แห่งในพื้นที่หนึ่ง ๆ ที่กำหนด หรือไม่ก็จากตัวอย่างจากแห่งหนึ่ง ๆ ที่มีการสะสมตัวหลายช่วงกาลเวลาอย่างต่อเนื่องอย่างเช่น จากพีตหรือจากตะกอนทะเลสาบ การศึกษาในปัจจุบันมีการใช้เทคนิคเชิงเปรียบเทียบจากตัวอย่างเรณูสัณฐานปัจจุบันกับตัวอย่างที่มีอายุเก่าแก่กว่า เพื่อเปรียบเทียบให้เข้าใจชุมชนพืชดั้งเดิม
เมื่อทำการดูสไลด์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์นักวิจัยจะนับจำนวนเรณูสัณฐานของพืชแต่ละชนิดแล้วจัดทำ ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปใช้ในการตรวจสอบผลกระทบอันเกิดจากการกระทำของมนุษย์อย่างเช่นการตัดและลากซุงในอดีต, รูปแบบการใช้ที่ดิน หรือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของภูมิภาคในระยะยาว เรณูวิทยาสามารถนำไปประยุกต์แก้ปัญหาได้หลายด้าน ได้แก่ ธรณีวิทยา พฤกษศาสตร์ บรรพชีวินวิทยา โบราณคดี และภูมิศาสตร์
การประยุกต์ใช้
เรณูวิทยาถูกนำไปประยุกต์ใช้ที่หลากหลาย มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์แขนงอื่น ๆ มากมาย
- หรือ นักธรณีวิทยาใช้การศึกษาทางเรณูวิทยาในทางการลำดับชั้นหินทางชีววิทยาเพื่อเปรียบเทียบชั้นหินและหาอายุเปรียบเทียบของชั้นหิน หมวดหิน หรือการลำดับชั้นหินหนึ่ง ๆ
- นิเวศวิทยา และ เรณูวิทยาสามารถนำไปใช้วิเคราะห์ชุมชนพืชในอดีตและชุมชนแพลงตอนพืชในทะเลหรือแหล่งน้ำจืด และสามารถอนุมานเป็นสภาพแวดล้อมและภูมิอากาศในอดีตได้
- ด้วยการตรวจสอบสภาพการเก็บรักษาของอินทรีย์วัตถุที่จะทำให้ทราบสภาพแวดล้อมของการตกสะสมตะกอนของหินตะกอน
- ด้วยการตรวจสอบสีของเรณูสัณฐานที่แยกออกมาจากเนื้อของหินทำให้ทราบการแปรผันของอุณหภูมิและการพัฒนาเต็มที่ของสารไฮโดรคาร์บอนของการลำดับชั้นตะกอนซึ่งจะทำให้สามารถประมาณการอุณหภูมิโบราณสูงสุดได้
- การศึกษาทางชลธีวิทยา เรณูสัณฐานน้ำจืดและเศษชิ้นส่วนของพืชและสัตว์ รวมถึงพวกสาหร่ายหลากหลายชนิด (พราซิโนไฟต์ เดสมิด และสาหร่ายสีเขียว) ที่สามารถศึกษาระดับน้ำในทะเลสาบในอดีตและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระยะยาว
- อนุกรมวิธาน การจำแนกทางวิทยาศาสตร์ และ
- เป็นการศึกษาละอองเรณูและเรณูสัณฐานอื่น ๆ เพื่อการใช้เป็นหลักฐานประกอบในพื้นที่เกิดเหตุอาชญากรรม
- การศึกษาโรคภูมิแพ้ เป็นการศึกษาการกระจายตัวในตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และการปริมาณการการผลิตละอองเรณูตามฤดูกาลที่สามารถช่วยผู้ป่วยจากอาการภูมิแพ้อย่างเช่นโรคแพ้เกสรดอกไม้ได้
- เป็นการศึกษาละอองเรณูและสปอร์ที่พบอยู่ในน้ำผึ้ง
- เป็นการศึกษาการใช้พืชของมนุษย์ในอดีต ที่สามารถช่วยอธิบายการเพาะปลูกตามฤดูกาล การมีหรือไม่มีกิจกรรมหรือผลผลิตทางการเกษตร และพื้นที่ที่มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพืชในเชิงโบราณคดี บอนไฟร์ เชลเตอร์ เป็นตัวอย่างหนึ่งของการประยุกต์ทางเรณูวิทยานี้
เพราะว่าการกระจายตัวของอาคริทาร์ช ไคตินโนซัว ไดโนแฟลกเจลเลตซิสต์ ละอองเรณู และสปอร์ เป็นหลักฐานในการเปรียบเทียบการลำดับชั้นหินในการวิเคราะห์การลำดับชั้นหินทางชีววิทยาและสภาพแวดล้อมโบราณ การประยุกต์ใช้ทั่วไปของเรณูวิทยาและก่อให้เกิดผลประโยชน์สูงคือในการใช้ประกอบในการสำรวจปิโตรเลียมและแก๊สธรรมชาติ
เรณูวิทยายังช่วยให้นักวิทยาศาสตร์อนุมานสภาพภูมิอากาศได้จากการปรากฏของชุมชนพืชในพื้นที่ตลอดช่วงเวลาทางธรณีวิทยาย้อนหลังไปนับเป็นพันปีหรือนับเป็นล้าน ๆ ปีทีเดียว และนี้เป็นสิ่งพื้นฐานในการวิจัยถึงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การศึกษาเรณูวิทยาในประเทศไทย
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
นักพฤกษศาสตร์เรณูวิทยา (Botanist & Palynologist) 2526. ได้ศึกษาเรณูพืชในประเทศไทยและการเทียบเคียงเรณูพืชของป่าฝนเขตร้อน นอกจากนี้ยังติดตามคณะศึกษาโครงการงานทางด้านเรณูวิทยาโบราณคดีร่วมกับคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งลาวัลย์ รักสัตย์ ได้นำดินจากหลุมศพทางภาคใต้ (ภายใต้โครงการของ ศ.ดร.สุรินทร์ ภู่ขจร และคณะ คณะโบราณคดี ม.ศิลปากร) มาศึกษาวิเคราะห์พบเรณูสัณฐานบ่งชี้สภาพของพื้นที่นั้นเคยเป็นแอ่งน้ำมาก่อน ด้วยการปรากฏเรณูสัณฐานของแพงพวยน้ำ (Jussiaea repens L.) เป็นจำนวนมากกว่าเรณูของพืชชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้ยังได้ติดตามคณะสำรวจภายใต้โครงการ (ดร.สว่าง เลิศฤทธิ์ และคณะ) ของคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรไปศึกษาการขุดซากของวัตถุโบราณที่ จ.ลพบุรี และได้เก็บตัวอย่างดินมาวิเคราะห์ศึกษา พบเรณูสัณฐานบ่งชี้ของพืชหลายชนิดโดยภาพรวมเป็นสภาพป่าแดงหรือป่าโคก และมีเรณูสัณฐาณของพรรณไม้สัก (Tectona grandis L.) เป็นจำนวนมาก ทั้งนี้เนื่องจากบริเวณพื้นที่ที่ทำการสำรวจรอบ ๆ นั้นมีร่องรอยของการทำสวนป่าสัก
อ้างอิง
- Gray, J. (1985). "The Microfossil Record of Early Land Plants: Advances in Understanding of Early Terrestrialization, 1970-1984". Philosophical Transactions of the Royal Society of London. Series B, Biological Sciences (1934-1990). 309 (1138): 167–195. doi:10.1098/rstb.1985.0077. สืบค้นเมื่อ 2008-04-26.
- Bradbury, S (1967). The Evolution of the Microscope. New York: Pergamon Press. pp. 375 p.
- Jansonius, J; D.C. McGregor (1996). . AASP Foundation. 1: 1–10. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-07-09. สืบค้นเมื่อ 2009-04-24.
- Fægri, Knut; Johs. Iversen (1964). Textbook of Pollen Analysis. Oxford: Blackwell Scientific Publications.
- Faegri, Knut (1973). . Pollen et Spores. 15: 5–12. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-03. สืบค้นเมื่อ 2009-04-24.
- Hyde, H.A.; D.A. Williams (1944). . Pollen Analysis Circular. 8: 6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-06-18. สืบค้นเมื่อ 2009-04-24.
- Assarson, G. och E.; Granlund, E. "En metod for pollenanalys av minerogena jordarter". Geol. foren. Stockh. forh. 46: 76–82.
- Erdtman, O.G.E. "Uber die Verwendung von Essigsaureanhydrid bei Pollenuntersuchungen". Sven. bot. tidskr. 28: 354–358.
- Overpeck, J.T.; T. Webb; I.C. Prentice (1985). "Quantitative interpretation of fossil pollen spectra: Dissimilarity coefficients and the method of modern analogs". Quaternary Research. 23: 87–108. doi:10.1016/0033-5894(85)90074-2.
- Niklasson, Mats; Matts Lindbladh; Leif Björkman (2002). "A long-term record of Quercus decline, logging and fires in a southern Swedish Fagus-Picea forest". Journal of Vegetation Science. 13: 765–774. doi:10.1658/1100-9233(2002)013[0765:ALROQD]2.0.CO;2.
- Hebda, R.J.; R.W. Mathewes (1984). "Holocene history of cedar and native cultures on the North American Pacific Coast". Science. 225: 711–713. doi:10.1126/science.225.4663.711. PMID 17810290.
- Heusser, Calvin J.; L.E. Heusser; D.M. Peteet (1985). "Late-Quaternary climatic change on the American North Pacific coast". Nature. 315: 485–487. doi:10.1038/315485a0.
- ลาวัลย์ รักสัตย์ (2544). สปอร์และเรณู. เอกสารประกอบการบรรยายและวิจัย. คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปกร กทม., 138 หน้า.
บรรณานุกรม
- Moore, P.D., et al. (1991), Pollen Analysis (Second Edition). Blackwell Scientific Publications.
- Traverse, A. (1988), Paleopalynology. Unwin Hyman
- Roberts, N. (1998), The Holocene an environmental history, Blackwell Publishing.
แหล่งข้อมูลอื่น
- The Micropalaeontological Society
- , international commission for Palaeozoic palynology.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ernuwithyainchnhin xngkvs Stratigraphic palynology hrux xngkvs Geological palynology epnwithyasastrthinkthrniwithyasuksaekiywkbkhxngsingmichiwitpccubnaelasakdukdabrrphephuxsuksahaxayuepriybethiybaelakarladbchnhin caksakehluxkhxng laxxngernu pollen spxr spores idonaeflkeclelt dinoflagellates resting cysts hrux hypnozygote xakhritharch acritarchs ikhtinonsw chitinozoans aelasokhelokhdxnt scolecodonts rwmipthung other microfossils aelaekhxorecnthimilksnaechphaathiphbintakxnaelahintakxn bangkhrngkarsuksaernusnthan Palynomorphs carwmthungkarsuksaidxatxm diatom fxaermminiefxra microforaminifera hruxsingmichiwitxunthimiokhrngrangphaynxkepnsarphwksilikaaelaenuxpun xangxingcak Palynology thi U of AZ laxxngernukhxngphayitklxngculthrrsnxbspxrthimispxrchnidithrlit spxrthuxepnhlkthanrunaerk khxngsingmichiwitbnbk siekhiyw spxrklumlasi sinaengin spxrthimirxyechuxmsamaechk epnruptw Y spxrmikhnadpraman 30 35 imokhremtr ernuwithyaepnwithyasastrechingshwithyakaraelaepnsakhahnungkhxngthrniwithyaaelachiwwithyaodyechphaaxyangyingphvkssastr wichakarladbchnhinthangernuwithyaepnsakhahnungkhxngwichabrrphchiwinwithyaculphakhaelaphvkssastrobransungsuksaekiywkbsakdukdabrrphkhxngernusnthancakchwngphriaekhmebriyntlxdcnthungsmyoholsinprawtiwichaernuwithyaprawtierimaerk mirayngankarkhnphblaxxngernuphayitklxngculthrrsnepnkhrngaerksudinchwngthswrrsthi 1640 ody nkphvkssastrchawxngkvsepnphubrryaylksnakhxnglaxxngernu eksrtwphu aelaepnphuthanayidxyangthuktxngwalaxxngernuepnsingcaepninkarsubphnthukhxngphuchthnghlay klxngculthrrsnidekhamamibthbathinkarsuksaernuwithyamakyingkhunrwmipthungphlngankhxngorebirt khidstn aelaphi ernchphutrwcsxbphbspxrinchnthanhinthiepriybethiybidkbspxrkhxngphuchpccubn phubukebikchwngaerk yngrwmthungkhrisetiyn kxthtfrayd xihernebirk phusuksaerdioxlaeriynaelaidxatxm ikediyn aemnethll phusuksasahrayedsmid aelaehnri ohfery iwt phusuksaidonaeflkeclelt ernuwithyayukhihm karwiekhraahlaxxngernuechingprimanaerksudthuktiphimphodyelnnart wxng ophst epnphuwangrakthaninkarwiekhraahlaxxngernuyukhihminkarbrryaythikhrisetiynakhxngekhainpi kh s 1916 karwiekhraahlaxxngernuchwngaerk thukcakdechphaainaethbpraethsklumnxrdikenuxngcakkartiphimphinchwngaerk canwnmakepnphasanxrdik karcakdkarsuksacakdechphaainhmupraethsnxrdikniidsincudlngdwykartiphimphwithyaniphnthkhxngkunnar exirdmn inpi kh s 1921 emuxmikarwiekhraahlaxxngernuxyangaephrhlaythwthngyuorpaelaxemrikaehnuxsahrbichinkarsuksaphuchphnthuaelakarepliynaeplngphumixakasyukhkhwxethxrnari khawa palynology mikhwamhmaywa ernuwithya thukesnxichodyihd aelawileliym inpi kh s 1944 tamkarichodyaexnethfs nkthrniwithyachawswiedn inhlayhnakhxngexksaraeck epnhnungkhxngwarsarchbbaerk thixuthisihekiywkbkarwiekhraahthanglaxxngernuphlitodyphxl esiyr inxemrikaehnux ihdaelawileliym eluxkkhawa palynology bnphunthanraksphthphasakrikobrancakkhawa paluno hmaythungkarhwanhruxphrmaela pale hmaythungfunlaxxng sungtrngkbkhawa pollen inphasalatin withikarsuksaernusnthanmikhwamhmaykwang waepnsakdukdabrrphthimiphnngepnxinthriysarmikhnadrahwang 5 thung 500 imkhrxn skdxxkmacakhinaelatakxnthngodywithikarthangkayphaph dwykarkrxngaelaprkticaichkhlundwy aelawithikarthangekhmi odykaryxyslaydwysarekhmiaelwaeykxxkcakswnthiimepnxinthriywtthu karetriymthangekhmi karyxyslaydwysarekhmicaprakxbdwyhlaykhntxn erimtndwykaraechtwxyanghinhruxtakxninsarlalayophaethsesiymihdrxkisdephuxaeykkrdhiwmikxxkma sungcathaihernusnthancmtwlngcakphiwkhxngsarlalay hruxodykarichkhlunxltraosnikthixaccasngphlkrathbsrangkhwamesiyhaytxphnngesllkhxngernusnthanid karichkrdihodrfluxxrikyxyslayaersiliektthuknamaichodyaexssarsnaelaaekrnlund inpi kh s 1924 chwyynewlainkarkhnhaernusnthanbnaephnsildphayitklxngculthrrsnepnxyangmak karsuksathangernuwithyacaktwxyangphitthaihehnxinthriywtthuinsphaphthismburndiprakxbdwyrakfxyelk ibelk khxngmxss aelaxinthriysarxun withikarxasiotilsisthukphthnakhunodykunnar exirdmnkbnxngchaykhxngekha ephuxyxyslayaelaaeykexawtthueslluolskhnadelk xxkma inkarthaxasiotilsiswtthucathaptikiriyakbsarekhmixasitikaexnihidrdaelakrdkamathnephuxyxyslayeslluolssungcathaihehnernusnthanidchdecnkhun inbangkhntxnthangekhmimikhwamcaepnthicatxngexaicisephuxkhwamplxdphy odyechphaaxyangyingkarichkrdihodrfluxxriksungsumphanphiwhnngidxyangrwderwaelathaihphiwhnngihmekidkarphxngbwmid miwithikarxun xikxyangechnkarlxytwinekhxorsinsahrbwtthucaphwkikhtin karwiekhraah emuxdaeninkaretriymtwxyangthangekhmiaelw twxyangcathuknaipthasildklxngculthrrsnodykarichnamnsiliokhn kliesxrxl hruxkliesxrxleylli aelwthakartrwcsxbphayitklxngculthrrsnaesnghruxklxngculthrrsnxielktrxnchnidsxngkrad pktinkwicycathakarsuksacaktwxyangpccubncakhlay aehnginphunthihnung thikahnd hruximkcaktwxyangcakaehnghnung thimikarsasmtwhlaychwngkalewlaxyangtxenuxngxyangechn cakphithruxcaktakxnthaelsab karsuksainpccubnmikarichethkhnikhechingepriybethiybcaktwxyangernusnthanpccubnkbtwxyangthimixayuekaaekkwa ephuxepriybethiybihekhaicchumchnphuchdngedim emuxthakardusildphayitklxngculthrrsnnkwicycanbcanwnernusnthankhxngphuchaetlachnidaelwcdtha khxmulehlanisamarthnaipichinkartrwcsxbphlkrathbxnekidcakkarkrathakhxngmnusyxyangechnkartdaelalaksunginxdit rupaebbkarichthidin hruxkarepliynaeplngphumixakaskhxngphumiphakhinrayayaw ernuwithyasamarthnaipprayuktaekpyhaidhlaydan idaek thrniwithya phvkssastr brrphchiwinwithya obrankhdi aelaphumisastrkarprayuktichernuwithyathuknaipprayuktichthihlakhlay mikhwamekiywkhxngkbwithyasastraekhnngxun makmay hrux nkthrniwithyaichkarsuksathangernuwithyainthangkarladbchnhinthangchiwwithyaephuxepriybethiybchnhinaelahaxayuepriybethiybkhxngchnhin hmwdhin hruxkarladbchnhinhnung niewswithya aela ernuwithyasamarthnaipichwiekhraahchumchnphuchinxditaelachumchnaephlngtxnphuchinthaelhruxaehlngnacud aelasamarthxnumanepnsphaphaewdlxmaelaphumixakasinxditid dwykartrwcsxbsphaphkarekbrksakhxngxinthriywtthuthicathaihthrabsphaphaewdlxmkhxngkartksasmtakxnkhxnghintakxn dwykartrwcsxbsikhxngernusnthanthiaeykxxkmacakenuxkhxnghinthaihthrabkaraeprphnkhxngxunhphumiaelakarphthnaetmthikhxngsarihodrkharbxnkhxngkarladbchntakxnsungcathaihsamarthpramankarxunhphumiobransungsudid karsuksathangchlthiwithya ernusnthannacudaelaesschinswnkhxngphuchaelastw rwmthungphwksahrayhlakhlaychnid phrasionift edsmid aelasahraysiekhiyw thisamarthsuksaradbnainthaelsabinxditaelakarepliynaeplngphumixakasinrayayaw xnukrmwithan karcaaenkthangwithyasastr aela epnkarsuksalaxxngernuaelaernusnthanxun ephuxkarichepnhlkthanprakxbinphunthiekidehtuxachyakrrm karsuksaorkhphumiaeph epnkarsuksakarkracaytwintaaehnngthangphumisastraelakarprimankarkarphlitlaxxngernutamvdukalthisamarthchwyphupwycakxakarphumiaephxyangechnorkhaepheksrdxkimid epnkarsuksalaxxngernuaelaspxrthiphbxyuinnaphung epnkarsuksakarichphuchkhxngmnusyinxdit thisamarthchwyxthibaykarephaapluktamvdukal karmihruximmikickrrmhruxphlphlitthangkarekstr aelaphunthithimikickrrmthiekiywkhxngkbphuchinechingobrankhdi bxnifr echletxr epntwxyanghnungkhxngkarprayuktthangernuwithyani ephraawakarkracaytwkhxngxakhritharch ikhtinonsw idonaeflkecleltsist laxxngernu aelaspxr epnhlkthaninkarepriybethiybkarladbchnhininkarwiekhraahkarladbchnhinthangchiwwithyaaelasphaphaewdlxmobran karprayuktichthwipkhxngernuwithyaaelakxihekidphlpraoychnsungkhuxinkarichprakxbinkarsarwcpiotreliymaelaaeksthrrmchati ernuwithyayngchwyihnkwithyasastrxnumansphaphphumixakasidcakkarpraktkhxngchumchnphuchinphunthitlxdchwngewlathangthrniwithyayxnhlngipnbepnphnpihruxnbepnlan pithiediyw aelaniepnsingphunthaninkarwicythungkarepliynaeplngphumixakaskarsuksaernuwithyainpraethsithyswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid nkphvkssastrernuwithya Botanist amp Palynologist 2526 idsuksaernuphuchinpraethsithyaelakarethiybekhiyngernuphuchkhxngpafnekhtrxn nxkcakniyngtidtamkhnasuksaokhrngkarnganthangdanernuwithyaobrankhdirwmkbkhnaobrankhdi mhawithyalysilpakr sunglawly rksty idnadincakhlumsphthangphakhit phayitokhrngkarkhxng s dr surinthr phukhcr aelakhna khnaobrankhdi m silpakr masuksawiekhraahphbernusnthanbngchisphaphkhxngphunthinnekhyepnaexngnamakxn dwykarprakternusnthankhxngaephngphwyna Jussiaea repens L epncanwnmakkwaernukhxngphuchchnidxun nxkcakniyngidtidtamkhnasarwcphayitokhrngkar dr swang elisvththi aelakhna khxngkhnaobrankhdi mhawithyalysilpakripsuksakarkhudsakkhxngwtthuobranthi c lphburi aelaidekbtwxyangdinmawiekhraahsuksa phbernusnthanbngchikhxngphuchhlaychnidodyphaphrwmepnsphaphpaaednghruxpaokhk aelamiernusnthankhxngphrrnimsk Tectona grandis L epncanwnmak thngnienuxngcakbriewnphunthithithakarsarwcrxb nnmirxngrxykhxngkarthaswnpaskxangxingGray J 1985 The Microfossil Record of Early Land Plants Advances in Understanding of Early Terrestrialization 1970 1984 Philosophical Transactions of the Royal Society of London Series B Biological Sciences 1934 1990 309 1138 167 195 doi 10 1098 rstb 1985 0077 subkhnemux 2008 04 26 Bradbury S 1967 The Evolution of the Microscope New York Pergamon Press pp 375 p Jansonius J D C McGregor 1996 AASP Foundation 1 1 10 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 07 09 subkhnemux 2009 04 24 Faegri Knut Johs Iversen 1964 Textbook of Pollen Analysis Oxford Blackwell Scientific Publications Faegri Knut 1973 Pollen et Spores 15 5 12 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 04 03 subkhnemux 2009 04 24 Hyde H A D A Williams 1944 Pollen Analysis Circular 8 6 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 06 18 subkhnemux 2009 04 24 Assarson G och E Granlund E En metod for pollenanalys av minerogena jordarter Geol foren Stockh forh 46 76 82 Erdtman O G E Uber die Verwendung von Essigsaureanhydrid bei Pollenuntersuchungen Sven bot tidskr 28 354 358 Overpeck J T T Webb I C Prentice 1985 Quantitative interpretation of fossil pollen spectra Dissimilarity coefficients and the method of modern analogs Quaternary Research 23 87 108 doi 10 1016 0033 5894 85 90074 2 Niklasson Mats Matts Lindbladh Leif Bjorkman 2002 A long term record of Quercus decline logging and fires in a southern Swedish Fagus Picea forest Journal of Vegetation Science 13 765 774 doi 10 1658 1100 9233 2002 013 0765 ALROQD 2 0 CO 2 Hebda R J R W Mathewes 1984 Holocene history of cedar and native cultures on the North American Pacific Coast Science 225 711 713 doi 10 1126 science 225 4663 711 PMID 17810290 Heusser Calvin J L E Heusser D M Peteet 1985 Late Quaternary climatic change on the American North Pacific coast Nature 315 485 487 doi 10 1038 315485a0 lawly rksty 2544 spxraelaernu exksarprakxbkarbrryayaelawicy khnaobrankhdi mhawithyalysilpkr kthm 138 hna brrnanukrm Moore P D et al 1991 Pollen Analysis Second Edition Blackwell Scientific Publications ISBN 0 632 02176 4 Traverse A 1988 Paleopalynology Unwin Hyman ISBN 0 04 561001 0 Roberts N 1998 The Holocene an environmental history Blackwell Publishing ISBN 0 631 18638 7aehlngkhxmulxunThe Micropalaeontological Society international commission for Palaeozoic palynology bthkhwamchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk