อักษรมอญ (มอญ: အက္ခရ်မန်, အခဝ်မန်; พม่า: မွန်အက္ခရာ) เป็นตัวอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น อักษรพม่า อักษรไทย อักษรลาว อักษรล้านนา อักษรไทลื้อ และอักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ในอักษรธรรมล้านนาและอักษรธรรมลาว อักษรมอญ เป็นอักษรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรพม่ามาก และสามารถนำไปใช้แทนอักษรพม่าได้ทุกตัว แต่อักษรพม่าไม่สามารถใช้แทนอักษรมอญได้ทุกตัว เพราะอักษรมอญมีตัวอักษรที่เพิ่มขึ้นมาจากอักษรพม่าปกติ
อักษรมอญ | |
---|---|
ชนิด | |
ช่วงยุค | พุทธศตวรรษที่ 11 (คริสต์ศตวรรษที่ 6) –ปัจจุบัน |
ทิศทาง | Left-to-right |
ภาษาพูด | ภาษามอญ |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบลูก | อักษรพม่า อักษรไทใหญ่ อักษรธรรมล้านนา อักษรธรรมลาว อักษรไทลื้อ |
ยูนิโคด | |
ช่วงยูนิโคด | U+1000–U+109F Myanmar U+AA60–U+AA7F Myanmar Ext-A U+A9E0–U+A9FF Myanmar Ext-B |
ประวัติ
อักษรมอญโบราณ (มอญ: မအခဝ်လိက်မန်တြေံ) พัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ จารึกแม่หินบดเวียงมะโน เวียงเถาะ อักษรมอญถูกพัฒนาขึ้นใช้ก่อนอักษรขอม และแตกต่างจากอักษรขอมที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้เช่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย
อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบที่จังหวัดนครปฐม ในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบอุษาคเนย์ทั้งหมด ปรากฏเป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภาษามอญ แสดงว่ามอญใช้อักษรปัลลวะในการสื่อสาร อักษรที่ประดิษฐ์เพิ่มนี้ยังได้พบในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา สันนิษฐานว่า จารึกในราวพุทธศตวรรษที่ 14–15 อักษรจารึกในศิลาหลักนี้ เรียกว่า ตัวอักษรหลังปัลลวะ
อักษรมอญและพม่า | |||||
พยัญชนะมอญและพม่า | |||||
(k) | (hk) | (g) | (gh) | (ng) | |
(c) | (hc) | (j) | (jh) | (ny) | |
(t) | (ht) | (d) | (dh) | (n) | |
(t) | (ht) | (d) | (dh) | (n) | |
(y) | (r) | (l) | (w) | (s) | |
(h) | (l) | (b)* | (a) | (b)* | |
สระลอยพม่า | |||||
အ (a) | ဣ (i) | ဤ (ii) | ဥ (u) | ဦ (uu) | |
ဧ (e) | ဩ (o) | ဪ (au) | |||
สระลอยมอญ | |||||
အ (a) | အာ (aa) | ဣ (i) | (ii)* | ||
ဥ (u) | ဥႂ (uu) | ၉ (e) | အဲ (ua) | ဩ (au) | |
(aau)* | အံ (aom) | အး (a:) | |||
สระประสม | |||||
ဢာ (aa) | ဢိ (i) | ဢီ (ii) | ဢု (u) | ဢူ (uu) | |
ေဢ (e) | ဢဲ (ua) | ေဢာ (au) | |||
เครื่องหมาย และอักขระพิเศษ | |||||
ဢံ () | ဢ့ (อนุสวาร) | ||||
ဢး (Visarga) | ဢ္ (Virama) | ||||
၊ (Little Section) | ။ (Section) | ||||
၌ (Locative) | ၍ (Completed) | ||||
၏ (Genitive) | ၎ (Aforementioned) | ||||
ၐ (sha) | ၑ (ssa) | ၒ (r) | ၓ (rr) | ၔ (l) | |
ၕ (ll) | ၖ (r) | ၗ (rr) | ဢၘ (l) | ဢၙ (ll) | |
ตัวเลข | |||||
၀၁၂၃၄၅၆၇၈၉ | ดูที่เลขมอญ และ | ||||
* มีใช้เฉพาะในภาษามอญ ไม่มีในชุดอักษรพม่า | |||||
????? | หน้านี้มีตัวอักษรพม่าที่อาจจะไม่แสดงผล ควรติดตั้งฟอนต์ยูนิโคด 5.1 สำหรับอักษรพม่า |
สมัยกลาง
- จารึกในประเทศพม่าภาคเหนือ ส่วนมากได้จากเมืองพะขัน และเมืองแปร ศิลาจารึกเหล่านี้ สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าอโนรธา กษัตริย์พุกามประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา พม่ารับอักษรมอญมาใช้เขียนภาษาพม่าเป็นครั้งแรก
- ศิลาจารึกพบที่วัดมหาวันจังหวัดลำพูน ลักษณะอักษรเป็นจารึกในสมัยพุทธศตวรรษที่ 17 กำหนดอายุจากรูปอักษรมอญโบราณ ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับตัวอักษรที่ปรากฏบนจารึกเมียเซดี ของพระเจ้าจานสิตา กษัตริย์พุกาม ซึ่งจารึกไว้เมื่อ พ.ศ. 1628 และ 1630 ดังนั้นจารึกหลักนี้จึงน่าจะมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17 เช่นเดียวกัน
- จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 1 (วัดดอนแก้ว) จารึกหลักนี้ถูกพบเมื่อ พ.ศ. 2460 โดยบัญชีทะเบียนพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย จังหวัดลำพูน ระบุว่าพบจารึกดังกล่าวที่วัดดอน ซึ่งอยู่ราว 250 เมตร ทางทิศตะวันออกของเมืองลำพูน ในบริเวณทิศตะวันออกของวัดต้นแก้ว มีรูปอักษรมอญโบราณ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 17
- จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 2 (วัดกู่กุด) พบที่ฐานพระเจดีย์ด้านทิศตะวันออกของวัดจามเทวีหรือกู่กุด อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน มีรูปอักษรมอญโบราณ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 17
- จารึกธรรมมิกราชา พบจารึกดังกล่าวที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จังหวัดลำพูน กำหนดอายุจากรูปอักษรมอญโบราณซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับจารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 1 (วัดดอนแก้ว) และจารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 2 (วัดกู่กุด) ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17
- จารึกวิหารโพธิ์ลังกา พบจารึกหลักนี้ที่วิหารโพธิ์ลังกา วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2514 พบว่าภาษาที่ใช้ในจารึกมีทั้งภาษามอญโบราณและพม่าโบราณ โดยมีคำบาลีสันสกฤตปะปน สันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 18-19
- จารึกในประเทศพม่าตอนใต้ เป็นจารึกของพระเจ้าธรรมเจดีย์ (พ.ศ. 2003–2034)
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16–17 ตัวอักษรมอญแบบปัลลวะได้คลี่คลายมาเป็นตัวอักษรสี่เหลี่ยมที่เรียกว่าอักษรมอญโบราณและเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กลงในระยะต่อมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 จนกลายเป็นอักษรมอญปัจจุบันซึ่งมีลักษณะกลม ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบนใบลาน
สมัยปัจจุบัน
- ภาษามอญปัจจุบัน เป็นภาษาในระยะพุทธศตวรรษที่ 21 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลาประมาณ 400 ปีเศษ ในยุคนี้เป็นจารึกในใบลาน
ลักษณะ
พยัญชนะแบ่งเป็น 2 ชุดคือ พยัญชนะเสียงไม่ก้อง (อโฆษะ เสียงขุ่น) พื้นเสียงเป็นอะ พยัญชนะเสียงก้อง (โฆษะ เสียงใส) พื้นเสียงเป็นเอียะ เมื่อประสมสระ พยัญชนะต่างชุดกันออกเสียงต่างกัน มีรูปพยัญชนะซ้อน เมื่อเป็นตัวควบกล้ำ
ยูนิโคด
อักษรมอญในยูนิโคด ใช้รหัสช่วงเดียวกันกับอักษรพม่า เพียงแต่มีส่วนขยายของอักษรมอญเพิ่มขึ้นมาจากอักษรพม่าตามปกติ
พม่า Unicode.org chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+100x | က | ခ | ဂ | ဃ | င | စ | ဆ | ဇ | ဈ | ဉ | ည | ဋ | ဌ | ဍ | ဎ | ဏ |
U+101x | တ | ထ | ဒ | ဓ | န | ပ | ဖ | ဗ | ဘ | မ | ယ | ရ | လ | ဝ | သ | ဟ |
U+102x | ဠ | အ | ဢ | ဣ | ဤ | ဥ | ဦ | ဧ | ဨ | ဩ | ဪ | ါ | ာ | ိ | ီ | ု |
U+103x | ူ | ေ | ဲ | ဳ | ဴ | ဵ | ံ | ့ | း | ္ | ် | ျ | ြ | ွ | ှ | ဿ |
U+104x | ၀ | ၁ | ၂ | ၃ | ၄ | ၅ | ၆ | ၇ | ၈ | ၉ | ၊ | ။ | ၌ | ၍ | ၎ | ၏ |
U+105x | ၐ | ၑ | ၒ | ၓ | ၔ | ၕ | ၖ | ၗ | ၘ | ၙ | ၚ | ၛ | ၜ | ၝ | ၞ | ၟ |
U+106x | ၠ | ၡ | ၢ | ၣ | ၤ | ၥ | ၦ | ၧ | ၨ | ၩ | ၪ | ၫ | ၬ | ၭ | ၮ | ၯ |
U+107x | ၰ | ၱ | ၲ | ၳ | ၴ | ၵ | ၶ | ၷ | ၸ | ၹ | ၺ | ၻ | ၼ | ၽ | ၾ | ၿ |
U+108x | ႀ | ႁ | ႂ | ႃ | ႄ | ႅ | ႆ | ႇ | ႈ | ႉ | ႊ | ႋ | ႌ | ႍ | ႎ | ႏ |
U+109x | ႐ | ႑ | ႒ | ႓ | ႔ | ႕ | ႖ | ႗ | ႘ | ႙ | ႚ | ႛ | ႜ | ႝ | ႞ | ႟ |
พม่า ส่วนขยาย-A Unicode.org chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+AA6x | ꩠ | ꩡ | ꩢ | ꩣ | ꩤ | ꩥ | ꩦ | ꩧ | ꩨ | ꩩ | ꩪ | ꩫ | ꩬ | ꩭ | ꩮ | ꩯ |
U+AA7x | ꩰ | ꩱ | ꩲ | ꩳ | ꩴ | ꩵ | ꩶ | ꩷ | ꩸ | ꩹ | ꩺ | ꩻ |
ดูเพิ่ม
- ภาษามอญ
- (อักษรกทัมพะ-ปัลลวะ)
อ้างอิง
- Aung-Thwin 2005: 157
- พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, บ.ก. (14 กรกฎาคม 2021). "จารึกแม่หินบดเวียงมะโน". ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
- ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย, ดอกรัก พยัคศรี, บ.ก. (24 มิถุนายน 2021). "จารึกวัดโพธิ์ร้าง". ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
- ตรงใจ หุตางกูร (บ.ก.). . ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 มีนาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 29 มีนาคม 2016.
- พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, บ.ก. (15 กรกฎาคม 2021). "จารึกวัดมหาวัน (ลำพูน)". ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
- พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, บ.ก. (14 กรกฎาคม 2021). "จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 1 (วัดดอนแก้ว)". ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
- พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, บ.ก. (14 กรกฎาคม 2021). "จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ 2 (วัดกู่กุด)". ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
- พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, บ.ก. (14 กรกฎาคม 2021). "จารึกธรรมมิกราชา". ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
- พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร, บ.ก. (15 กรกฎาคม 2021). "จารึกวิหารโพธิ์ลังกา". ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
บรรณานุกรม
- พวน รามัญวงศ์ (2005). พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน. ISBN .
- สุจิตต์ วงษ์เทศ (2005). อักษรไทย มาจากไหน. ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน. ISBN .
- Aung-Thwin, Michael (2005). The mists of Rāmañña: The Legend that was Lower Burma (illustrated ed.). Honolulu: University of Hawai'i Press. ISBN .
- Bauer, Christian (1991). "Notes on Mon Epigraphy". Journal of the Siam Society. 79 (1): 35. ISSN 0304-226X.
- Lieberman, Victor B. (2003). Strange Parallels: Southeast Asia in Global Context, c. 800–1830, volume 1, Integration on the Mainland. Cambridge University Press. p. 136. ISBN .
- Stadtner, Donald M. (2008). "The Mon of Lower Burma". Journal of the Siam Society. 96: 198. ISSN 0304-226X.
- Sawada, Hideo (พฤษภาคม–มิถุนายน 2013). (PDF). 23rd Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics Society. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. pp. 1–36. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 20 ตุลาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2017.
- Jenny, Mathias (กรกฎาคม 2015). Foreign Influence in the Burmese Language (PDF). International Conference on Burma/Myanmar Studies Burma/Myanmar in Transition: Connectivity, Changes and Challenges. Chiangmai, Thailand. pp. 1–21.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xksrmxy mxy အက ခရ မန အခဝ မန phma မ န အက ခရ epntwxksrthiphthnamacakxksrphrahmi phanthangxksrpllwa aelaepnaemaebbkhxngxksrxun echn xksrphma xksrithy xksrlaw xksrlanna xksrithlux aelaxksrthrrmthiichekhiynkhmphirinxksrthrrmlannaaelaxksrthrrmlaw xksrmxy epnxksrthimilksnakhlaykhlungkbxksrphmamak aelasamarthnaipichaethnxksrphmaidthuktw aetxksrphmaimsamarthichaethnxksrmxyidthuktw ephraaxksrmxymitwxksrthiephimkhunmacakxksrphmapktixksrmxychnidxksrsraprakxbchwngyukhphuththstwrrsthi 11 khriststwrrsthi 6 pccubnthisthangLeft to right phasaphudphasamxyxksrthiekiywkhxngrabbaemxksrfiniechiyxksrxraemxikxksrphrahmixksrpllwaxksrmxyrabblukxksrphma xksrithihy xksrthrrmlanna xksrthrrmlaw xksrithluxyuniokhdchwngyuniokhdU 1000 U 109F Myanmar U AA60 U AA7F Myanmar Ext A U A9E0 U A9FF Myanmar Ext B bthkhwamniprakxbdwyinsthxksrsakl IPA sahrbkhaaenanaebuxngtnekiywkbsylksn IPA oprddu sahrbkhwamaetktangrahwang aela duthi sthxksrsakl wngelbehliymaelathbprawtixksrmxyobran mxy မအခဝ လ က မန တ phthnamacakxksryukhhlngpllwa phbcarukxksrniinekhthriphuychy echnthi carukaemhinbdewiyngmaon ewiyngethaa xksrmxythukphthnakhunichkxnxksrkhxm aelaaetktangcakxksrkhxmthiphthnacakxksrinxinediyitechnediywknkhux xksrmxytdbaxksrxxkip thaihrupxksrkhxnkhangklm swnxksrkhxmepliynbaxksrepnskhruxhnamety xksrmxy thiekaaekthisudnn khnphbthicnghwdnkhrpthm inpraethsithy hlkthanthiphbkhux carukwdophthirang xayurawphuththstwrrsthi 12 epnxksrmxyobranthiekaaekthisud inbrrdacarukphasamxythiidkhnphb inaethbxusakhenythnghmd praktepncarukthiekhiyndwytwxksrpllwa thiyngimidddaeplngihepn xksrmxy aelaidphbxksrthimxypradisthephimkhun ephuxihphxkbesiynginphasamxy aesdngwamxyichxksrpllwainkarsuxsar xksrthipradisthephimniyngidphbincarukesaaepdehliymthisalsung emuxnglphburi khxkhwamthicarukekiywkbphraphuththsasna snnisthanwa carukinrawphuththstwrrsthi 14 15 xksrcarukinsilahlkni eriykwa twxksrhlngpllwa xksrmxyaelaphmaphyychnamxyaelaphma k hk g gh ng c hc j jh ny t ht d dh n t ht d dh n y r l w s h l b a b sralxyphmaအ a ဣ i ဤ ii ဥ u ဦ uu ဧ e ဩ o ဪ au sralxymxyအ a အ aa ဣ i ii ဥ u ဥ uu ၉ e အ ua ဩ au aau အ aom အ a sraprasmဢ aa ဢ i ဢ ii ဢ u ဢ uu ဢ e ဢ ua ဢ au ekhruxnghmay aelaxkkhraphiessဢ ဢ xnuswar ဢ Visarga ဢ Virama Little Section Section Locative Completed Genitive Aforementioned ၐ sha ၑ ssa ၒ r ၓ rr ၔ l ၕ ll r rr ဢ l ဢ ll twelkh၀၁၂၃၄၅၆၇၈၉ duthielkhmxy aela miichechphaainphasamxy immiinchudxksrphma hnanimitwxksrphmathixaccaimaesdngphl khwrtidtngfxntyuniokhd 5 1 sahrbxksrphmasmyklang xksrmxyeka 35 twcarukinpraethsphmaphakhehnux swnmakidcakemuxngphakhn aelaemuxngaepr silacarukehlani srangkhuninrchsmykhxngphraecaxonrtha kstriyphukampraman ph s 1600 epntnma phmarbxksrmxymaichekhiynphasaphmaepnkhrngaerk silacarukphbthiwdmhawncnghwdlaphun lksnaxksrepncarukinsmyphuththstwrrsthi 17 kahndxayucakrupxksrmxyobran sungmilksnaiklekhiyngkbtwxksrthipraktbncarukemiyesdi khxngphraecacansita kstriyphukam sungcarukiwemux ph s 1628 aela 1630 dngnncarukhlknicungnacamixayurawphuththstwrrsthi 17 echnediywkn carukphraecaswwathisiththi 1 wddxnaekw carukhlknithukphbemux ph s 2460 odybychithaebiynphiphithphnthsthanaehngchati hriphuyichy cnghwdlaphun rabuwaphbcarukdngklawthiwddxn sungxyuraw 250 emtr thangthistawnxxkkhxngemuxnglaphun inbriewnthistawnxxkkhxngwdtnaekw mirupxksrmxyobran xayurawphuththstwrrsthi 17 carukphraecaswwathisiththi 2 wdkukud phbthithanphraecdiydanthistawnxxkkhxngwdcamethwihruxkukud xaephxemuxng cnghwdlaphun mirupxksrmxyobran xayurawphuththstwrrsthi 17 carukthrrmmikracha phbcarukdngklawthiphiphithphnthsthanaehngchatihriphuyichy cnghwdlaphun kahndxayucakrupxksrmxyobransungmilksnaechnediywkbcarukphraecaswwathisiththi 1 wddxnaekw aelacarukphraecaswwathisiththi 2 wdkukud sungmixayurawphuththstwrrsthi 17 carukwiharophthilngka phbcarukhlknithiwiharophthilngka wdphramhathatuwrmhawihar xaephxemuxng cnghwdnkhrsrithrrmrach emuxwnthi 7 minakhm ph s 2514 phbwaphasathiichincarukmithngphasamxyobranaelaphmaobran odymikhabalisnskvtpapn snnisthanwanacamixayurawphuththstwrrsthi 18 19 carukinpraethsphmatxnit epncarukkhxngphraecathrrmecdiy ph s 2003 2034 pramanphuththstwrrsthi 16 17 twxksrmxyaebbpllwaidkhlikhlaymaepntwxksrsiehliymthieriykwaxksrmxyobranaelaepliynaeplngkhnadelklnginrayatxmatngaetphuththstwrrsthi 21 cnklayepnxksrmxypccubnsungmilksnaklm sungekidcakxiththiphlkhxngkarcarhnngsuxodyichehlkcarlngbniblan smypccubn phasamxypccubn epnphasainrayaphuththstwrrsthi 21 epntnma cnthungpccubn nbepnrayaewlapraman 400 piess inyukhniepncarukiniblanlksnaphyychnaaebngepn 2 chudkhux phyychnaesiyngimkxng xokhsa esiyngkhun phunesiyngepnxa phyychnaesiyngkxng okhsa esiyngis phunesiyngepnexiya emuxprasmsra phyychnatangchudknxxkesiyngtangkn mirupphyychnasxn emuxepntwkhwbklayuniokhdxksrmxyinyuniokhd ichrhschwngediywknkbxksrphma ephiyngaetmiswnkhyaykhxngxksrmxyephimkhunmacakxksrphmatampkti phma Unicode org chart PDF 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E FU 100x က ခ ဂ ဃ င စ ဆ ဇ ဈ ဉ ည ဋ ဌ ဍ ဎ ဏU 101x တ ထ ဒ ဓ န ပ ဖ ဗ ဘ မ ယ ရ လ ဝ သ ဟU 102x ဠ အ ဢ ဣ ဤ ဥ ဦ ဧ ဨ ဩ ဪ U 103x ဿU 104x ၀ ၁ ၂ ၃ ၄ ၅ ၆ ၇ ၈ ၉ U 105x ၐ ၑ ၒ ၓ ၔ ၕ ၚ ၛ ၜ ၝ U 106x ၡ ၥ ၦ ၮ ၯU 107x ၰ ၵ ၶ ၷ ၸ ၹ ၺ ၻ ၼ ၽ ၾ ၿU 108x ႀ ႁ ႎ U 109x ႐ ႑ ႒ ႓ ႔ ႕ ႖ ႗ ႘ ႙ phma swnkhyay A Unicode org chart PDF 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E FU AA6x ꩠ ꩡ ꩢ ꩣ ꩤ ꩥ ꩦ ꩧ ꩨ ꩩ ꩪ ꩫ ꩬ ꩭ ꩮ ꩯU AA7x ꩰ ꩱ ꩲ ꩳ ꩴ ꩵ ꩶ ꩺ duephimsthaniyxyphasaphasamxy xksrkthmpha pllwaxangxingAung Thwin 2005 157 phnthuthiphy thiraentr b k 14 krkdakhm 2021 carukaemhinbdewiyngmaon thankhxmulcarukinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn trngic hutangkur wchrphr xngkurchchchy dxkrk phykhsri b k 24 mithunayn 2021 carukwdophthirang thankhxmulcarukinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn trngic hutangkur b k thankhxmulcarukinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 12 minakhm 2018 subkhnemux 29 minakhm 2016 phnthuthiphy thiraentr b k 15 krkdakhm 2021 carukwdmhawn laphun thankhxmulcarukinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn phnthuthiphy thiraentr b k 14 krkdakhm 2021 carukphraecaswwathisiththi 1 wddxnaekw thankhxmulcarukinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn phnthuthiphy thiraentr b k 14 krkdakhm 2021 carukphraecaswwathisiththi 2 wdkukud thankhxmulcarukinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn phnthuthiphy thiraentr b k 14 krkdakhm 2021 carukthrrmmikracha thankhxmulcarukinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn phnthuthiphy thiraentr b k 15 krkdakhm 2021 carukwiharophthilngka thankhxmulcarukinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn brrnanukrmphwn ramywngs 2005 phcnanukrmmxy ithy chbbmxysyam silpwthnthrrm chbbphiess krungethph sankphimphmtichn ISBN 978 974 323 544 3 sucitt wngseths 2005 xksrithy macakihn silpwthnthrrm chbbphiess krungethph sankphimphmtichn ISBN 978 974 323 547 4 Aung Thwin Michael 2005 The mists of Ramanna The Legend that was Lower Burma illustrated ed Honolulu University of Hawai i Press ISBN 978 0 824 82886 8 Bauer Christian 1991 Notes on Mon Epigraphy Journal of the Siam Society 79 1 35 ISSN 0304 226X Lieberman Victor B 2003 Strange Parallels Southeast Asia in Global Context c 800 1830 volume 1 Integration on the Mainland Cambridge University Press p 136 ISBN 978 0 521 80496 7 Stadtner Donald M 2008 The Mon of Lower Burma Journal of the Siam Society 96 198 ISSN 0304 226X Sawada Hideo phvsphakhm mithunayn 2013 PDF 23rd Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics Society krungethph culalngkrnmhawithyaly pp 1 36 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 20 tulakhm 2016 subkhnemux 15 phvscikayn 2017 Jenny Mathias krkdakhm 2015 Foreign Influence in the Burmese Language PDF International Conference on Burma Myanmar Studies Burma Myanmar in Transition Connectivity Changes and Challenges Chiangmai Thailand pp 1 21 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xksrmxy wikiphiediy saranukrmesri inphasamxy Easy Learning Mon thangyuthub Ethnologue ekiywkbphasamxy