สารต้านฮิสตามีน (antihistamine) หรือ ทั่วไปเรียกว่า ยาแก้แพ้ เป็น ยา ที่ใช้กำจัดหรือลดผลของ ฮิสตามีน (histamine) ซึ่งเป็นเป็นสารเคมีที่ถูกปลดปล่อยภายในร่างกายจาก (allergic reactions) โดยผ่านการกระทำที่ (histamine receptors) สารที่มีผลในการรักษาจะออกฤทธิ์ในการยับยั้งตัวรับฮีสทามีนนี้จึงถูกเรียกว่า สารต้านฮีสตามีน - สารอื่นที่มีผลต้านฮีสทามีนแต่ไม่ออกฤทธิ์ที่ จะไม่เป็นสารต้านฮีสทามีนที่แท้จริง
Antihistamine | |
---|---|
ระดับชั้นของยา | |
Histamine structure | |
Class identifiers | |
Pronunciation | /ˌæntiˈhɪstəmiːn/ |
ATC code | |
• • | |
• • • • | |
External links | |
MeSH | D006633 |
In Wikidata |
โดยทั่วไป สารต้านฮีสตามีนจะหมายถึง ตัวรับปฏิปักษ์ H1 ซึ่งเรียกว่า สารต้านฮิสตามีน-H1 เราพบว่า สารต้านฮิสตามีน-H1เป็น (inverse agonist) ที่ตัวรับฮิสตามีน-H1มากกว่าที่จะเป็น per se. (Leurs, Church & Taglialatela, 2002)
รุ่นที่หนึ่ง (ไม่จำเพาะ)
ยาต้านฮิสตามีนรุ่นที่หนึ่งเป็นยาต้านฮิสตามีนที่มีมานานที่สุด มักเข้าถึงได้ง่ายและมีราคาถูก มีผลในการลดอาการภูมิแพ้ได้ดี แต่มักมีฤทธิ์เป็นตัวยับยั้ง (antagonist) อย่างแรง (potent) ที่ด้วย นอกจากนี้ยังพบว่ามักจะมีฤทธิ์ที่ และ/หรือ ด้วย การขาดความจำเพาะเช่นนี้เองที่ทำให้ยาในกลุ่มนี้บางตัวมีผลข้างเคียงรุนแรงต่อผู้ใช้ยา โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับยาต้านฮิสตามีนรุ่นที่สอง
รุ่นที่สอง
ยาต้านฮิสตามีนรุ่นที่สองเป็นยาที่พัฒนาขึ้นมาในภายหลังเพื่อให้เป็นยาต้านฮิสตามีนที่มีความจำเพาะกับตัวรับ H1 ที่ตำแหน่งนอกส่วนกลาง (peripheral) มากกว่าตัวรับ H1 ในระบบประสาทส่วนกลางและ ความจำเพาะนี้ทำให้ยากลุ่มนี้มีผลข้างเคียงลดลงอย่างมาก โดยเฉพาะความง่วงซึม ในขณะที่ยังมีผลลดอาการภูมิแพ้ได้อยู่
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Forneau E, Bovet D (1933). Recherches sur l'action sympathicolytique d'un nouveau derive du dioxane. Arch Int Pharmacodyn 46, 178-91.
- Leurs R, Church MK, Taglialatela M (2002). H1-antihistamines: inverse agonism, anti-inflammatory actions and cardiac effects. Clin Exp Allergy 32, 489-98.
- Nelson, WL (2002). In Williams DA, Lemke TL (Eds.). Foye's Principles of Medicinal Chemistry (5 ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.
- Rossi S (Ed.) (2004). 2004. Adelaide: Australian Medicines Handbook.
- Simons FER (2004). Advances in H1-antihistamines. N Engl J Med 351 (21) , 2203-17.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sartanhistamin antihistamine hrux thwiperiykwa yaaekaeph epn ya thiichkacdhruxldphlkhxng histamin histamine sungepnepnsarekhmithithukpldplxyphayinrangkaycak allergic reactions odyphankarkrathathi histamine receptors sarthimiphlinkarrksacaxxkvththiinkarybyngtwrbhisthaminnicungthukeriykwa sartanhistamin sarxunthimiphltanhisthaminaetimxxkvththithi caimepnsartanhisthaminthiaethcringAntihistamineradbchnkhxngyaHistamine structureClass identifiersPronunciation ˌ ae n t i ˈ h ɪ s t e m iː n ATC code External linksMeSHD006633In Wikidata odythwip sartanhistamincahmaythung twrbptipks H1 sungeriykwa sartanhistamin H1 eraphbwa sartanhistamin H1epn inverse agonist thitwrbhistamin H1makkwathicaepn per se Leurs Church amp Taglialatela 2002 runthihnung imcaephaa yatanhistaminrunthihnungepnyatanhistaminthimimananthisud mkekhathungidngayaelamirakhathuk miphlinkarldxakarphumiaephiddi aetmkmivththiepntwybyng antagonist xyangaerng potent thidwy nxkcakniyngphbwamkcamivththithi aela hrux dwy karkhadkhwamcaephaaechnniexngthithaihyainklumnibangtwmiphlkhangekhiyngrunaerngtxphuichya odyechphaaemuxethiybkbyatanhistaminrunthisxngrunthisxngyatanhistaminrunthisxngepnyathiphthnakhunmainphayhlngephuxihepnyatanhistaminthimikhwamcaephaakbtwrb H1 thitaaehnngnxkswnklang peripheral makkwatwrb H1 inrabbprasathswnklangaela khwamcaephaanithaihyaklumnimiphlkhangekhiyngldlngxyangmak odyechphaakhwamngwngsum inkhnathiyngmiphlldxakarphumiaephidxyuduephimsthaniyxyephschkrrmH2 receptor antagonistxangxingForneau E Bovet D 1933 Recherches sur l action sympathicolytique d un nouveau derive du dioxane Arch Int Pharmacodyn 46 178 91 Leurs R Church MK Taglialatela M 2002 H1 antihistamines inverse agonism anti inflammatory actions and cardiac effects Clin Exp Allergy 32 489 98 Nelson WL 2002 In Williams DA Lemke TL Eds Foye s Principles of Medicinal Chemistry 5 ed Philadelphia Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 0 683 30737 1 Rossi S Ed 2004 2004 Adelaide Australian Medicines Handbook ISBN 0 9578521 4 2 Simons FER 2004 Advances in H1 antihistamines N Engl J Med 351 21 2203 17