สัจจวิภังคสูตร เป็นพระสูตร ในอุปริปัณณาสก์ หมวดมัชฌิมนิกาย ของพระสุตตันตปิฎก ชื่อพระสูตรมีความหมายว่า "การแจกแจงสัจธรรม" ซึ่งสัจธรรมนี้ ก็คือ อริยสัจ 4 โดยเป็นการแจกแจง และอธิบายอย่างละเอียดว่า อริยสัจ 4 นี้ประกอบด้วยอะไร และในข้อนั้นๆ มีองค์ประกอบเช่นไร และด้วยการเข้าถึงสัจธรรมทั้ง 4 ประการนี้ จะสามารถหลุดพ้นได้อย่างไร ทั้งนี้ เนื้อหาของสัจจวิภังคสูตร มีความคล้ายคลึงกับ ว่าด้วยอริยมรรค 8 ในมหาวารวรรค สังยุตตนิกาย ของพระสุตตันตปิฎก ซึ่งว่าด้วยการแจกแจงสัจธรรมของพุทธศาสนาเช่นกัน แต่มีข้อแตกต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อยเล็กน้อย เช่นสถานที่ปรารภพระสูตร และความต่างตรงที่สัจจวิภังคสูตร อธิบายตั้งแต่ต้นอริยสัจ 4 จนถึงอริยมรรค 8 ขณะที่วิภังคสูตรเน้นอธิบายอริยมรรค 8 เป็นหลัก เป็นต้น
ทั้งนี้ สัจจวิภังคสูตรยังรวมอยู่ในภาณวาร หรือหนังสือบทสวดมนต์หลวง สำหรับสวดเพื่อความเป็นสิริมงคลในงานพระราชพิธี และงานพิธีต่างๆ อีกด้วย แต่นอกจากจะใช้สวดสาธยายแล้ว พระสูตรนี้ยังมีคุณค่ามหาศาล ในการทำความเข้าใจหัวใจของพุทธศาสนา เนื่องจากเป็นการแจกแจง แยกย่อยให้เกิดความเข้าใจง่ายขึ้น เหมาะแก่การกระทำมนสิการ พิจารณาอย่างแยบคาย และปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การพ้นทุกข์ต่อไป
ที่มา
สัจจวิภังคสูตรนี้สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงปรารภขึ้น ณ ป่าอิสิปตนมิคทายวัน เขตเมืองพาราณสี แต่พระผู้มีพระภาคมิได้ตรัสแต่ลำพังพระองค์เดียว เพราะทรงปรารภถึงการ "ประกาศธรรมจักรอันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า" หรือ การอริยสัจ 4 ที่ ที่ป่าอิสิปตนมิคทายวัน เขตเมืองพาราณสี ขึ้นมาก่อน จากนั้นทรงแนะนำแก่ภิกษุทั้งหลายว่า อันอริยสัจนี้แม้พระองค์จะเป็นผู้เดียวที่ประกาศ แต่พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ สองมหาอัครสาวกจะช่วยอธิบายชี้แจงให้เข้าใจได้เช่นกัน โดยเฉพาะพระสารีบุตรที่ "พอที่จะบอก แสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก ทำให้ง่ายซึ่งอริยสัจ 4 ได้โดยพิสดาร"
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสสรรเสริญคุณของพระสมเด็จพระสารีบุตรและโมคคัลลานะว่า "ทั้งสองรูปนี้เป็นบัณฑิตภิกษุ ผู้อนุเคราะห์ผู้ร่วมประพฤติพรหมจรรย์ สารีบุตรเปรียบเหมือนผู้ให้กำเนิด โมคคัลลานะเปรียบเหมือนผู้บำรุงเลี้ยงทารกที่เกิดแล้ว" ซึ่งปปัญจสูทนี อรรถกถามัชฌิมนิกายได้อธิบายพุทธวจนะส่วนนี้ไว้ว่า พระสารีบุตรจะสงเคราะห์บรรพชิตทั้งหลายที่ยังไม่บรรลุอริยบุคคลชั้นต้น คือพระโสดาบันให้บรรลุเสียก่อน ท่านยังให้บรรพชิตเหล่านั้นได้มีดวงตาเห็นธรรม ดุจมารดาผู้ให้กำเนิด ครั้นมีดวงตาเห็นธรรมแล้ว เหมือนได้เกิดใหม่แล้ว ท่านจะปล่อยให้บรรพชิตเหล่านั้นบำเพ็ญเพียรให้มรรคผลสูงๆ ยิ่งขึ้นไป เพื่อที่ท่านจักได้ไปสั่งสอนให้ผู้อื่นได้มีดวงตาเห็นธรรมอีก
ด้วยเหตุนี้ พระสารีบุตรจึงเชี่ยวชาญในการแสดงธรรมขั้นต้นให้พิสดาร ยังให้บรรพชิตทั้งหลายเข้าใจธรรมได้โดยง่าย แล้วจักบรรลุชั้นสูงๆ ยิ่งขึ้นไปด้วยตนเอง หรือด้วยการสั่งสอนของพระมหาโมคคัลลานะในกาลต่อๆ ไป ดังนั้นในสัจจวิภังคสูตร พระสารีบุตรจึงได้แสดงธรรม เพื่อแจกแจงอริยสัจ 4 อย่างพิสดาร เพื่อความแจ่มแจ้งแก่ภิกษุทั้งหลาย เมื่อพระผู้มีพระภาคได้เสด็จเข้าไปยังพระวิหารแล้ว ดังนี้
เนื้อหา
พระสารีบุตรได้จำแนกแจกแจงอริยสัจ 4 คือ ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทัยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ หรือ มรรคมีองค์แปด ดังนี้ว่า
1. ทุกข์
"ทุกขอริยสัจเป็นไฉน คือ ชาติก็เป็นทุกข์ ชราก็เป็นทุกข์ มรณะก็เป็นทุกข์ โสกะปริเทวะ ทุกขะ โทมนัสและอุปายาส ก็เป็นทุกข์ ความไม่ได้สมปรารถนาก็เป็นทุกข์ โดยประมวลแล้วอุปาทานขันธ์ 5 เป็นทุกข์ ฯ"
- ชาติ "ชาติเป็นไฉน ได้แก่ ความเกิด ความเกิดพร้อม ความหยั่งลง ความบังเกิด ความบังเกิดเฉพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ความได้เฉพาะซึ่งอายตนะ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายนั้นๆ นี้เรียกว่าชาติ ฯ"
- ชรา "ชราเป็นไฉน ได้แก่ ความแก่ ความคร่ำคร่าความเป็นผู้มีฟันหัก มีผมหงอก มีหนังย่น ความเสื่อมอายุ ความหง่อมแห่งอินทรีย์ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายนั้นๆ นี้เรียกว่าชรา ฯ"
- มรณะ "มรณะเป็นไฉน ได้แก่ ความจุติ ความเคลื่อนไป ความแตก ความอันตรธาน ความตาย ความมรณะ การทำกาละความสลายแห่งขันธ์ ความทอดทิ้งร่าง ความขาดชีวิตินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายนั้นๆ นี้เรียกว่ามรณะ ฯ"
- โสกะ "โสกะเป็นไฉน ได้แก่ ความโศก ความเศร้าความเหี่ยวแห้งใจ ความเหี่ยวแห้งภายใน ความเหี่ยวแห้งรอบในภายใน ของบุคคลผู้ประจวบกับความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเหตุแห่งทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งถูกต้องแล้ว นี้เรียกว่าโสกะ ฯ"
- ปริเทวะ "ปริเทวะเป็นไฉน ได้แก่ ความรำพันความร่ำไร กิริยารำพัน กิริยาร่ำไร ลักษณะที่รำพัน ลักษณะที่ร่ำไร ของบุคคลที่ประจวบกับความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเหตุแห่งทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งถูกต้องแล้ว นี้เรียกว่าปริเทวะ ฯ"
- ทุกขะ "ทุกขะเป็นไฉน ได้แก่ ความลำบากกายความไม่สบายกาย ความเสวยอารมณ์ที่ลำบาก ที่ไม่สบาย อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย นี้เรียกว่าทุกขะ ฯ"
- โทมนัส "โทมนัสเป็นไฉน ได้แก่ ความลำบากใจความไม่สบายใจ ความเสวยอารมณ์ที่ลำบาก ที่ไม่สบาย อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ นี้เรียกว่าโทมนัส ฯ"
- อุปายาส "อุปายาสเป็นไฉน ได้แก่ ความคับใจ ความแค้นใจ ลักษณะที่คับใจ ลักษณะที่แค้นใจ ของบุคคลผู้ประจวบกับความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเหตุแห่งทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งถูกต้องแล้ว นี้เรียกว่าอุปายาส ฯ"
- ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง "ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง" โดยรวบรัดคือ ความไม่ได้สมปรารถนา ท่านกล่าวว่า "ความไม่ได้สมปรารถนาเป็นทุกข์เป็นไฉนได้แก่ สัตว์ทั้งหลายผู้มีความเกิดเป็นธรรมดา เกิดความปรารถนาขึ้นอย่างนี้ว่าโอหนอ ขอเราอย่าต้องเกิดเป็นธรรมดา และความเกิดอย่าพึงมาถึงเราเลย อันข้อนี้ ใครๆ จะสำเร็จตามความปรารถนาไม่ได้เลย แม้นี้ก็ชื่อว่า ความไม่ได้สมปรารถนาเป็นทุกข์ สัตว์ทั้งหลายผู้มีความแก่เป็นธรรมดา เกิดความปรารถนาขึ้นอย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราอย่าต้องแก่เป็นธรรมดา และความแก่อย่าพึงมาถึงเราเลย อันข้อนี้ ใครๆ จะสำเร็จตามความปรารถนาไม่ได้เลย แม้นี้ก็ชื่อว่าความไม่ได้สมปรารถนาเป็นทุกข์ สัตว์ทั้งหลายผู้มีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา เกิดความปรารถนาขึ้นอย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราอย่าต้องเจ็บไข้เป็นธรรมดา และความเจ็บไข้อย่าพึงมาถึงเราเลย อันข้อนี้ ใครๆ จะสำเร็จตามความปรารถนาไม่ได้เลย แม้นี้ก็ชื่อว่า ความไม่ได้สมปรารถนาเป็นทุกข์ สัตว์ทั้งหลายผู้มีความตายเป็นธรรมดา เกิดความปรารถนาขึ้นอย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราอย่าต้องตายเป็นธรรมดา และความตายอย่าพึงมาถึงเราเลย อันข้อนี้ ใครๆ จะสำเร็จตามความปรารถนาไม่ได้เลย แม้นี้ก็ชื่อว่า ความไม่ได้สมปรารถนาเป็นทุกข์สัตว์ทั้งหลายผู้มีโสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาสเป็นธรรมดาเกิดความปรารถนาขึ้นอย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราอย่าต้องมีโสกะ ปริเทวะ ทุกขะโทมนัส และอุปายาสเป็นธรรมดา และโสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัสและอุปายาสอย่าพึงมาถึงเราเลย อันข้อนี้ ใครๆ จะสำเร็จตามความปรารถนาไม่ได้เลย แม้นี้ก็ชื่อว่า ความไม่ได้สมปรารถนาเป็นทุกข์ ฯ"
แล้วสรุปว่า "โดยประมวลแล้ว อุปาทานขันธ์ 5 เป็นทุกข์เป็นไฉน คืออย่างนี้ อุปาทานขันธ์คือรูป คือเวทนา คือสัญญา คือสังขาร คือวิญญาณ เหล่านี้ชื่อว่า โดยประมวลแล้ว อุปาทานขันธ์ 5 เป็นทุกข์"
2. สมุทัย
"ทุกขสมุทัยอริยสัจเป็นไฉน ได้แก่ตัณหาที่นำไปสู่ภพใหม่ สหรคตด้วยความกำหนัด ด้วยอำนาจความยินดี อันมีความเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหานี้เรียกว่า ทุกขสมุทัยอริยสัจ ฯ"
3. นิโรธ
"ทุกขนิโรธอริยสัจเป็นไฉน ได้แก่ความดับด้วยอำนาจคลายกำหนัดไม่มีส่วนเหลือ ความสละ ความสลัดคืน ความปล่อย ความไม่มีอาลัย ซึ่งตัณหานั้นนั่นแล นี้เรียกว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ฯ"
4. มรรค
หรือ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ท่านกล่าวว่า "ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจเป็นไฉน ได้แก่ มรรคมีองค์ 8 อันประเสริฐนี้แล ซึ่งมีดังนี้ (1) สัมมาทิฐิ (2) สัมมาสังกัปปะ (3) สัมมาวาจา (4) สัมมากัมมันตะ (5) สัมมาอาชีวะ (6) สัมมาวายามะ (7) สัมมาสติ (8) สัมมาสมาธิ ฯ" แล้วแจกแจงดังนี้ คือ
- สัมมาทิฐิ "สัมมาทิฐิเป็นไฉน ได้แก่ ความรู้ในทุกข์ความรู้ในทุกขสมุทัย ความรู้ในทุกขนิโรธ ความรู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทานี้เรียกว่าสัมมาทิฐิ ฯ"
- สัมมาสังกัปปะ "สัมมาสังกัปปะเป็นไฉน ได้แก่ ความดำริในเนกขัมมะ ความดำริในอันไม่พยาบาท ความดำริในอันไม่เบียดเบียน นี้เรียกว่าสัมมาสังกัปปะ ฯ"
- สัมมาวาจา "สัมมาวาจาเป็นไฉน ได้แก่ เจตนา เป็นเครื่องงดเว้นจากพูดเท็จ จากพูดส่อเสียด จากพูดคำหยาบ จากเจรจาเพ้อเจ้อนี้เรียกว่า สัมมาวาจา ฯ"
- สัมมากัมมันตะ "สัมมากัมมันตะเป็นไฉน ได้แก่ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากปาณาติบาต จากอทินนาทาน จากกาเมสุมิจฉาจาร นี้เรียกว่าสัมมากัมมันตะ ฯ"
- สัมมาอาชีวะ "สัมมาอาชีวะเป็นไฉน คือ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ละมิจฉาชีพแล้ว สำเร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ นี้เรียกว่าสัมมาอาชีวะ ฯ"
- สัมมาวายามะ "สัมมาวายามะเป็นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมให้เกิดฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต ตั้งจิตไว้ เพื่อไม่ให้อกุศลธรรมอันลามกที่ยังไม่เกิดได้เกิดขึ้น 1 เพื่อละอกุศลธรรมอันลามกที่เกิดขึ้นแล้วเสีย 1 เพื่อให้กุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นได้เกิดขึ้น 1 เพื่อความตั้งมั่นไม่ฟั่นเฝือ เพิ่มพูน ไพบูลย์ เจริญ และบริบูรณ์ของกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว 1 นี้เรียกว่าสัมมาวายามะ ฯ"
- สัมมาสติ "สัมมาสติเป็นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกาย มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ เป็นผู้พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ เป็นผู้พิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ เป็นผู้พิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติกำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ นี้เรียกว่าสัมมาสติ ฯ"
- สัมมาสมาธิ "สัมมาสมาธิเป็นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้าทุติยฌาน ... อยู่ เป็นผู้วางเฉย เพราะหน่ายปีติ มีสัมปชัญญะอยู่ และเสวยสุขด้วยนามกาย เข้าตติยฌาน ... อยู่ เข้าจตุตถฌาน ... อยู่นี้เรียกว่าสัมมาสมาธิ ฯ"
จากนั้นพระสารีบุตรจึงกล่าวถึงพระผู้มีพระภาคว่า "พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธได้ทรงประกาศธรรมจักรอันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ป่าอิสิปตนมิคทายวัน เขตเมืองพาราณสี อันสมณะ หรือพราหมณ์ หรือเทวดา หรือมาร หรือพรหม หรือใครๆ ในโลก ยังไม่เคยประกาศ ได้แก่ ทรงบอก ทรงแสดง ทรงบัญญัติทรงแต่งตั้ง ทรงเปิดเผย ทรงจำแนก ทรงทำให้ง่ายซึ่งอริยสัจ 4 นี้ "
อ้างอิง
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 381
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 381
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 381
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 381
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 388 - 390
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 382
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 382
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 382
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 383
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 383
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 383
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 383
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 383
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 383
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 384
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 385
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 385
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 385
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 385
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 385
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 385
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 386
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 386
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 386
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 386
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 386
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 387
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 หน้า 387
บรรณานุกรม
- พระไตรปิฎกบาฬี ฉบับฉัฏฐสังคีติ สุตฺตปิฎก มชฺฌิมนิกาย อุปริปณฺณาสปาฬิ วิภงฺควโคฺค สจฺจวิภงฺคสุตฺตํ
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sccwiphngkhsutr epnphrasutr inxupripnnask hmwdmchchimnikay khxngphrasuttntpidk chuxphrasutrmikhwamhmaywa karaeckaecngscthrrm sungscthrrmni kkhux xriysc 4 odyepnkaraeckaecng aelaxthibayxyanglaexiydwa xriysc 4 niprakxbdwyxair aelainkhxnn mixngkhprakxbechnir aeladwykarekhathungscthrrmthng 4 prakarni casamarthhludphnidxyangir thngni enuxhakhxngsccwiphngkhsutr mikhwamkhlaykhlungkb wadwyxriymrrkh 8 inmhawarwrrkh sngyuttnikay khxngphrasuttntpidk sungwadwykaraeckaecngscthrrmkhxngphuththsasnaechnkn aetmikhxaetktangkninraylaexiydplikyxyelknxy echnsthanthiprarphphrasutr aelakhwamtangtrngthisccwiphngkhsutr xthibaytngaettnxriysc 4 cnthungxriymrrkh 8 khnathiwiphngkhsutrennxthibayxriymrrkh 8 epnhlk epntn thngni sccwiphngkhsutryngrwmxyuinphanwar hruxhnngsuxbthswdmnthlwng sahrbswdephuxkhwamepnsirimngkhlinnganphrarachphithi aelanganphithitang xikdwy aetnxkcakcaichswdsathyayaelw phrasutrniyngmikhunkhamhasal inkarthakhwamekhaichwickhxngphuththsasna enuxngcakepnkaraeckaecng aeykyxyihekidkhwamekhaicngaykhun ehmaaaekkarkrathamnsikar phicarnaxyangaeybkhay aelaptibtiephuxnaipsukarphnthukkhtxipthimasccwiphngkhsutrnismedcphrasmmasmphuththecathrngprarphkhun n paxisiptnmikhthaywn ekhtemuxngpharansi aetphraphumiphraphakhmiidtrsaetlaphngphraxngkhediyw ephraathrngprarphthungkar prakasthrrmckrxnimmithrrmxunyingkwa hrux karxriysc 4 thi thipaxisiptnmikhthaywn ekhtemuxngpharansi khunmakxn caknnthrngaenanaaekphiksuthnghlaywa xnxriyscniaemphraxngkhcaepnphuediywthiprakas aetphrasaributraelaphramhaomkhkhllana sxngmhaxkhrsawkcachwyxthibaychiaecngihekhaicidechnkn odyechphaaphrasaributrthi phxthicabxk aesdng byyti aetngtng epidephy caaenk thaihngaysungxriysc 4 idodyphisdar smedcphrasmmasmphuththecathrngtrssrresriykhunkhxngphrasmedcphrasaributraelaomkhkhllanawa thngsxngrupniepnbnthitphiksu phuxnuekhraahphurwmpraphvtiphrhmcrry saributrepriybehmuxnphuihkaenid omkhkhllanaepriybehmuxnphubarungeliyngtharkthiekidaelw sungppycsuthni xrrthkthamchchimnikayidxthibayphuththwcnaswnniiwwa phrasaributrcasngekhraahbrrphchitthnghlaythiyngimbrrluxriybukhkhlchntn khuxphraosdabnihbrrluesiykxn thanyngihbrrphchitehlannidmidwngtaehnthrrm ducmardaphuihkaenid khrnmidwngtaehnthrrmaelw ehmuxnidekidihmaelw thancaplxyihbrrphchitehlannbaephyephiyrihmrrkhphlsung yingkhunip ephuxthithanckidipsngsxnihphuxunidmidwngtaehnthrrmxik dwyehtuni phrasaributrcungechiywchayinkaraesdngthrrmkhntnihphisdar yngihbrrphchitthnghlayekhaicthrrmidodyngay aelwckbrrluchnsung yingkhunipdwytnexng hruxdwykarsngsxnkhxngphramhaomkhkhllanainkaltx ip dngnninsccwiphngkhsutr phrasaributrcungidaesdngthrrm ephuxaeckaecngxriysc 4 xyangphisdar ephuxkhwamaecmaecngaekphiksuthnghlay emuxphraphumiphraphakhidesdcekhaipyngphrawiharaelw dngnienuxhaphrasaributridcaaenkaeckaecngxriysc 4 khux thukkhxriysc thukkhsmuthyxriysc thukkhniorthxriysc thukkhniorthkhaminiptipthaxriysc hrux mrrkhmixngkhaepd dngniwa 1 thukkh thukkhxriyscepnichn khux chatikepnthukkh chrakepnthukkh mrnakepnthukkh oskapriethwa thukkha othmnsaelaxupayas kepnthukkh khwamimidsmprarthnakepnthukkh odypramwlaelwxupathankhnth 5 epnthukkh chati chatiepnichn idaek khwamekid khwamekidphrxm khwamhynglng khwambngekid khwambngekidechphaa khwampraktaehngkhnthkhwamidechphaasungxaytna inhmustwnn khxngstwthnghlaynn nieriykwachati chra chraepnichn idaek khwamaek khwamkhrakhrakhwamepnphumifnhk miphmhngxk mihnngyn khwamesuxmxayu khwamhngxmaehngxinthriyinhmustwnn khxngstwthnghlaynn nieriykwachra mrna mrnaepnichn idaek khwamcuti khwamekhluxnip khwamaetk khwamxntrthan khwamtay khwammrna karthakalakhwamslayaehngkhnth khwamthxdthingrang khwamkhadchiwitinthriy cakhmustwnn khxngstwthnghlaynn nieriykwamrna oska oskaepnichn idaek khwamosk khwamesrakhwamehiywaehngic khwamehiywaehngphayin khwamehiywaehngrxbinphayin khxngbukhkhlphupracwbkbkhwamphibtixyangidxyanghnung xnehtuaehngthukkhxyangidxyanghnungthuktxngaelw nieriykwaoska priethwa priethwaepnichn idaek khwamraphnkhwamrair kiriyaraphn kiriyarair lksnathiraphn lksnathirair khxngbukhkhlthipracwbkbkhwamphibtixyangidxyanghnung xnehtuaehngthukkhxyangidxyanghnungthuktxngaelw nieriykwapriethwa thukkha thukkhaepnichn idaek khwamlabakkaykhwamimsbaykay khwameswyxarmnthilabak thiimsbay xnekidaetsmphsthangkay nieriykwathukkha othmns othmnsepnichn idaek khwamlabakickhwamimsbayic khwameswyxarmnthilabak thiimsbay xnekidaetsmphsthangic nieriykwaothmns xupayas xupayasepnichn idaek khwamkhbic khwamaekhnic lksnathikhbic lksnathiaekhnic khxngbukhkhlphupracwbkbkhwamphibtixyangidxyanghnung xnehtuaehngthukkhxyangidxyanghnungthuktxngaelw nieriykwaxupayas ympicchng na laphati tmpi thukkhng ympicchng na laphati tmpi thukkhng odyrwbrdkhux khwamimidsmprarthna thanklawwa khwamimidsmprarthnaepnthukkhepnichnidaek stwthnghlayphumikhwamekidepnthrrmda ekidkhwamprarthnakhunxyangniwaoxhnx khxeraxyatxngekidepnthrrmda aelakhwamekidxyaphungmathungeraely xnkhxni ikhr casaerctamkhwamprarthnaimidely aemnikchuxwa khwamimidsmprarthnaepnthukkh stwthnghlayphumikhwamaekepnthrrmda ekidkhwamprarthnakhunxyangniwa oxhnx khxeraxyatxngaekepnthrrmda aelakhwamaekxyaphungmathungeraely xnkhxni ikhr casaerctamkhwamprarthnaimidely aemnikchuxwakhwamimidsmprarthnaepnthukkh stwthnghlayphumikhwamecbikhepnthrrmda ekidkhwamprarthnakhunxyangniwa oxhnx khxeraxyatxngecbikhepnthrrmda aelakhwamecbikhxyaphungmathungeraely xnkhxni ikhr casaerctamkhwamprarthnaimidely aemnikchuxwa khwamimidsmprarthnaepnthukkh stwthnghlayphumikhwamtayepnthrrmda ekidkhwamprarthnakhunxyangniwa oxhnx khxeraxyatxngtayepnthrrmda aelakhwamtayxyaphungmathungeraely xnkhxni ikhr casaerctamkhwamprarthnaimidely aemnikchuxwa khwamimidsmprarthnaepnthukkhstwthnghlayphumioska priethwa thukkha othmns aelaxupayasepnthrrmdaekidkhwamprarthnakhunxyangniwa oxhnx khxeraxyatxngmioska priethwa thukkhaothmns aelaxupayasepnthrrmda aelaoska priethwa thukkha othmnsaelaxupayasxyaphungmathungeraely xnkhxni ikhr casaerctamkhwamprarthnaimidely aemnikchuxwa khwamimidsmprarthnaepnthukkh aelwsrupwa odypramwlaelw xupathankhnth 5 epnthukkhepnichn khuxxyangni xupathankhnthkhuxrup khuxewthna khuxsyya khuxsngkhar khuxwiyyan ehlanichuxwa odypramwlaelw xupathankhnth 5 epnthukkh 2 smuthy thukkhsmuthyxriyscepnichn idaektnhathinaipsuphphihm shrkhtdwykhwamkahnd dwyxanackhwamyindi xnmikhwamephlidephlininxarmnnn khux kamtnha phwtnha wiphwtnhanieriykwa thukkhsmuthyxriysc 3 niorth thukkhniorthxriyscepnichn idaekkhwamdbdwyxanackhlaykahndimmiswnehlux khwamsla khwamsldkhun khwamplxy khwamimmixaly sungtnhannnnael nieriykwa thukkhniorthxriysc 4 mrrkh hrux thukkhniorthkhaminiptipthaxriysc thanklawwa thukkhniorthkhaminiptipthaxriyscepnichn idaek mrrkhmixngkh 8 xnpraesrithniael sungmidngni 1 smmathithi 2 smmasngkppa 3 smmawaca 4 smmakmmnta 5 smmaxachiwa 6 smmawayama 7 smmasti 8 smmasmathi aelwaeckaecngdngni khux smmathithi smmathithiepnichn idaek khwamruinthukkhkhwamruinthukkhsmuthy khwamruinthukkhniorth khwamruinthukkhniorthkhaminiptipthanieriykwasmmathithi smmasngkppa smmasngkppaepnichn idaek khwamdariinenkkhmma khwamdariinxnimphyabath khwamdariinxnimebiydebiyn nieriykwasmmasngkppa smmawaca smmawacaepnichn idaek ectna epnekhruxngngdewncakphudethc cakphudsxesiyd cakphudkhahyab cakecrcaephxecxnieriykwa smmawaca smmakmmnta smmakmmntaepnichn idaek ectnaepnekhruxngngdewncakpanatibat cakxthinnathan cakkaemsumicchacar nieriykwasmmakmmnta smmaxachiwa smmaxachiwaepnichn khux xriysawkinthrrmwinyni lamicchachiphaelw saerckhwamepnxyudwysmmachiph nieriykwasmmaxachiwa smmawayama smmawayamaepnichn khux phiksuinthrrmwinyni yxmihekidchntha phyayam prarphkhwamephiyr prakhxngcit tngcitiw ephuximihxkuslthrrmxnlamkthiyngimekididekidkhun 1 ephuxlaxkuslthrrmxnlamkthiekidkhunaelwesiy 1 ephuxihkuslthrrmthiyngimekidkhunidekidkhun 1 ephuxkhwamtngmnimfnefux ephimphun iphbuly ecriy aelabriburnkhxngkuslthrrmthiekidkhunaelw 1 nieriykwasmmawayama smmasti smmastiepnichn khux phiksuinthrrmwinyniepnphuphicarnaehnkayinkay mikhwamephiyr rusuktw misti kacdxphichchaaelaothmnsinolkesiyidxyu epnphuphicarnaehnewthnainewthna mikhwamephiyr rusuktw misti kacdxphichchaaelaothmnsinolkesiyidxyu epnphuphicarnaehncitincit mikhwamephiyr rusuktw misti kacdxphichchaaelaothmnsinolkesiyidxyu epnphuphicarnaehnthrrminthrrm mikhwamephiyr rusuktw mistikacdxphichchaaelaothmnsinolkesiyidxyu nieriykwasmmasti smmasmathi smmasmathiepnichn khux phiksuinthrrmwinynisngdcakkam sngdcakxkuslthrrm ekhapthmchan miwitk miwicar mipitiaelasukhekidaetwiewkxyu ekhathutiychan xyu epnphuwangechy ephraahnaypiti mismpchyyaxyu aelaeswysukhdwynamkay ekhattiychan xyu ekhactutthchan xyunieriykwasmmasmathi caknnphrasaributrcungklawthungphraphumiphraphakhwa phratthakhtxrhntsmmasmphuththidthrngprakasthrrmckrxnimmithrrmxunyingkwa thipaxisiptnmikhthaywn ekhtemuxngpharansi xnsmna hruxphrahmn hruxethwda hruxmar hruxphrhm hruxikhr inolk yngimekhyprakas idaek thrngbxk thrngaesdng thrngbyytithrngaetngtng thrngepidephy thrngcaaenk thrngthaihngaysungxriysc 4 ni xangxingphraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 381 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 381 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 381 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 381 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 388 390 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 382 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 382 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 382 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 383 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 383 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 383 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 383 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 383 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 383 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 384 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 385 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 385 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 385 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 385 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 385 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 385 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 386 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 386 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 386 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 386 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 386 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 387 phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2 hna 387brrnanukrmphraitrpidkbali chbbchtthsngkhiti sut tpidk mch chimnikay xupripn naspali wiphng khwokh kh sc cwiphng khsut t phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk mchchimnikay xupripnnask elm 3 phakh 2