นิกายวินัย (律宗/ลวื่อจง) ก่อตั้งขึ้นในประเทศจีนสมัยราชวงศ์ถัง โดยพระภิกษุต้าวซ่วน นิกายนี้ถือพระวินัยเป็นสิ่งสำคัญสุด โดยถือตามพุทธดำรัสที่ว่า "ธรรมวินัยนี้จักเป็นศาสดาของพวกเธอเมื่อตถาคตล่วงลับไปแล้ว" คัมภีร์สำคัญของนิกายนี้คือ จตุรงควินัย (四分律ซื่อเฟินลฺวื่อ) พระวินัยของนิกายนี้ใกล้เคียงกับฝ่ายเถรวาท ภิกษุรักษาวินัย 250 ข้อ ภิกษุณีรักษาวินัย 350 ข้อ
บูรพาจารย์
นิกายวินัย สถาปนาขึ้นโดยพระเถระต้าวซ่วน (道宣) ในสมัยราชวงศ์ถัง เรียกว่า นิกายวินัยแห่งหนานซาน (南山律宗) ตามสถานที่พำนักของพระมหาเถระต้าวซ่วน ซึ่งอยู่ ณ ภูเขาจงหนานซาน (终南山) เบื้องนอกนครฉางอาน อันเป็นสถานที่พำนักบำเพ็ญเพียรของบรรพชิตในศาสนาพุทธ และนักพรตในศาสนาเต๋า อนึ่ง พระเถระต้าวซ่วน แม้จะเป็นผู้ก่อตั้งนิกาย แต่ท่านถือว่าเป็นบูรพาจารย์ลำดับที่ 9 เนื่องจากนับคณาจารย์ในชมพูทวีปด้วย แต่หากนับลำดับในจีน ท่านจะถือเป็นปฐมบูรพาจารย์
แต่เดิมนั้น นิกายวินัยในจีนเป็นเพียงสำนักที่เน้นการศึกษาพระวินัยเป็นหลัก โดยเหตุที่พระวินัยในจีนอิงกับพระวินัยของ 4 นิกาย คือ วินัยปิฎกของนิกายธรรมคุปตะ, วินัยปิฎกของนิกายสรวาสติวาทิน, วินัยปิฎกของนิกายมหิศาสกะ และ วินัยปิฎกของนิกายมหาสังฆิกะ ซึ่งเรียกรวมกันว่า จตุรงควินัย หรือ จตุรอัธยายธรรมคุปตวินัย (四分律) สำนักที่ศึกษาพระวินัย จึงพลอยเรียกว่า นิกายจตุรงควินัย (四分律宗)
ต่อมาในยุคของเถระต้าวซ่วน ท่านได้ศึกษาพระวินัยฉบับต่างๆ และนำพระวินัยปิฎกของนิกายธรรมคุปตะมาเป็นรากฐานการศึกษา แล้วเทียบเคียงกับคำสอนของนิกายต่างๆ ท่านยังรจนาอรรถกถาพระวินัยจำนวน 5 ปกรณ์ วางข้อกำหนดเกี่ยวกับการอุปสมบท และวางสีมาอุปสมบทที่วัดจิ้งเย่ นับเป็นการสถาปนานิกายวินัย หรือ ลฺวื่อจง ในเชิงสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ
การสืบทอด
นิกายวินัยรุ่งเรืองอย่างมากในสมัยราชวงศ์ถัง โดยเฉพาะยุคของพระเถระต้าวซ่วน มีการรจนาปกรณ์อธิบายพระวินัยหลายฉบับ ต่อมาโรยราลงอย่างมากในยุคกวาดล้างพุทธศาสนารัชสมัยพระเจ้าถังอู่จง กระทั่งในสมัยราชวงศ์ซ่งเริ่มคึกคักอีกครั้ง มีพระเถระหยุ่นคาน (允堪) รจนาฎีกาอธิบายอรรถกถาของพระเถระต้าวซ่วน และมีการสร้างสีมาอุปสมบทพระอารามสำคัญ
ครั้นถึงสมัยราชวงศ์หยวนและราชวงศ์หมิง นิกายวินัยโรยราอีกครั้ง อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายสมัยราชวงศ์หมิง มีพระเถระนามว่า กู่ซิน (古心) เดินทางไปยังอู่ไถซาน ภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งพระโพธิสัตว์มัญชุศรี ท่านเดินทางจาริกด้วยเท้าไปอู่ไถซานานถึง 3 ปี ครั้นแล้วบังเกิดนิมิตว่าพระโพธิสัตว์มัญชุศรีมาสอนพระวินัยแก่ท่านอย่างทะลุปรุโปร่ง ท่านจึงเกิดศรัทธาที่จะพื้นฟูพระวินัยอีกครั้ง โดยฟื้นฟูการศึกษาคัมภีร์ และอุปสมบทวิธี จนท่านได้รับฉายาว่า เป็นพระอุบาลีท่านที่สอง การฟื้นฟูของท่าน กู่ซิน ประสบความสำเร็จอย่างมาก ทำให้นิกายวินัยแพร่หลายไปทั่วจีนอีกครั้ง จากราชวงศ์หมิง สืบต่อมาถึงราชวงศ์ชิง
กระทั่งถึงยุคสาธารณรัฐ พระเถระหงอี (弘一) ได้ฟื้นฟูนิกายวินัยอีกครั้ง ด้วยการศึกษาปกรณ์ของพระเถระต้าวซ่วน ส่งเสริมการรักษาสิกขาบทอย่างเคร่งครัด อีกทั้งตัวท่านยังวัตรปฏิบัติงดงาม มีความพากเพียรในการส่งเสริมพุทธศาสนา ยังศรัทธาให้เกิดแก่สาธุชนจีนอย่างมหาศาล นับเป็นการสืบทอดนิกายวินัยมิให้สูญหายครั้งสำคัญครั้งหนึ่ง
คำสอน
นิกายนี้ถือว่า ถ้าศีลไม่บริสุทธิ์แล้ว สมาธิ ปัญญาก็ยากจะเกิดขึ้นได้ และได้แบ่งประเภทของศีลออกตามคติมหายาน คือ ตรีวิสุทธิศีล อันได้แก่
- สัมภารสังคหศีล (เนียบลุกงีก่าย) ได้แก่การงดเว้น การประกอบอกุศลกรรม ที่ผิดบทบัญญัติแห่งวินัย
- กุศลสังคหศีล (เนียบเสียงฮวบก่าย) ได้แก่การประกอบกุศลกรรมไม่ขาด
- สัตตวารถกริยาสังคหศีล (เนียบโจ้งเซงก่าย) ได้แก่การบำเพ็ญประโยชน์สุขแก่สรรพสัตว์
ทั้ง 3 ประการนี้ต่างอาศัยกัน เช่น งดเว้นปาณาติบาต จัดเป็นสัมภารสังคหศีล เมื่อไม่ฆ่าจิตก็เป็นกุศล จัดเป็นกุศลสังคหศีล และเมื่อจิตเป็นกุศลก็พลอยมีเมตตากรุณาช่วยเหลือสัตว์ จัดเป็นสัตตวารถกริยาสังคหศีล
นิกายนี้ยังได้จัดระยะกาลแห่งพระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์เป็น 3 คือ
- ซิกฮวบจง ได้แก่ฝ่ายสรวาสติวาทิน ถือว่ารูปธรรมเป็นปทัฏฐานของศีล ทั้งนี้เพราะถือว่าสิ่งทั้งปวงมีอยู่
- แกเมี้ยงจง ได้แก่มหายานคติศูนยตวาทิน ที่ถือว่าปทัฏฐานของศีล ไม่เป็นรูปธรรมหรือนามธรรม ทั้งนี้ก็เนื่องด้วยมีคติว่า ธรรมทั้งปวงไม่มีภาวะ ดำรงอยู่เพียงสมมติบัญญัติ
- อีกาจง ได้แก่มหายานฝ่ายโยคาจารที่ถือว่า ปทัฏฐานของศีลได้แก่ใจ ด้วยมีคติว่าสิ่งทั้งปวงเป็นปรากฏการณ์ของใจ
ปกรณ์สำคัญ
- (四分律/สี้ฮุงลุก) ท่านพุทธยศกันท่านเต็กฮุกเหนียมแปล
- (十诵律/จับส่งลุก) ท่านปุณยาตระ กับท่านกุมารชีพแปล
- (五分律/โหงวฮุงลุก) ท่านพุทธชีวะกับ ท่านเต๊กเต้าเชงแปล
- (摩诃僧袛律/มอฮอเจงตีลุก) ท่านพุทธภัทรกับท่านฮวบเฮี้ยนแปล
นอกจากนี้ ยังมี มูลสรวาสติวาทวินัย แปลโดยท่านงี่เจ๋ง, สรวาสติวาทวินัยมาติกา แปลโดยท่านสังฆวรมัน และมูลสรวาสติวาทภิกษุณีวินัย แปลโดยท่านงี่เจ๋ง เป็นอาทิ
ในส่วนของท่านต้าวซ่วน มีงานรจนา อาทิ "ซื่อเฟินลฺวื่อ ปี่ชิวหาน จู้เจี้ยเปิ่น" (四分律比丘含注戒本) และ "ซื่อเฟินลฺวื่อ ซาน ปู่ สุยจี เจี๋ยหมัว" (四分律删补随机羯磨) เป็นอาทิ
อ้างอิง
- ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์. ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิเบต และญี่ปุ่น
- Rulu. (2012) Bodhisattva Precepts. หน้า 8
- เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน
- Rulu. (2012) Bodhisattva Precepts หน้า 8
- Vinaya Sect in Han Buddhism
- Rulu. (2012) Bodhisattva Precepts. หน้า 11
- Rulu. (2012) Bodhisattva Precepts. หน้า 11
- Rulu. (2012) Bodhisattva Precepts. หน้า 12
- เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน
- เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน
- เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน
บรรณานุกรม
- เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
- ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์. ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิเบต และญี่ปุ่น. กทม. สุขภาพใจ. 2545
- Rulu. (2012) Bodhisattva Precepts. AuthorHouse
- Haicheng Ling. (2004) Buddhism in China. Chinese Intercontinental Press
- Vinaya Sect in Han Buddhism จาก http://wiki.china.org.cn/
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nikaywiny 律宗 lwuxcng kxtngkhuninpraethscinsmyrachwngsthng odyphraphiksutawswn nikaynithuxphrawinyepnsingsakhysud odythuxtamphuththdarsthiwa thrrmwinynickepnsasdakhxngphwkethxemuxtthakhtlwnglbipaelw khmphirsakhykhxngnikaynikhux cturngkhwiny 四分律suxefinl wux phrawinykhxngnikayniiklekhiyngkbfayethrwath phiksurksawiny 250 khx phiksunirksawiny 350 khxburphacarynikaywiny sthapnakhunodyphraethratawswn 道宣 insmyrachwngsthng eriykwa nikaywinyaehnghnansan 南山律宗 tamsthanthiphankkhxngphramhaethratawswn sungxyu n phuekhacnghnansan 终南山 ebuxngnxknkhrchangxan xnepnsthanthiphankbaephyephiyrkhxngbrrphchitinsasnaphuthth aelankphrtinsasnaeta xnung phraethratawswn aemcaepnphukxtngnikay aetthanthuxwaepnburphacaryladbthi 9 enuxngcaknbkhnacaryinchmphuthwipdwy aethaknbladbincin thancathuxepnpthmburphacary aetedimnn nikaywinyincinepnephiyngsankthiennkarsuksaphrawinyepnhlk odyehtuthiphrawinyincinxingkbphrawinykhxng 4 nikay khux winypidkkhxngnikaythrrmkhupta winypidkkhxngnikaysrwastiwathin winypidkkhxngnikaymhisaska aela winypidkkhxngnikaymhasngkhika sungeriykrwmknwa cturngkhwiny hrux cturxthyaythrrmkhuptwiny 四分律 sankthisuksaphrawiny cungphlxyeriykwa nikaycturngkhwiny 四分律宗 txmainyukhkhxngethratawswn thanidsuksaphrawinychbbtang aelanaphrawinypidkkhxngnikaythrrmkhuptamaepnrakthankarsuksa aelwethiybekhiyngkbkhasxnkhxngnikaytang thanyngrcnaxrrthkthaphrawinycanwn 5 pkrn wangkhxkahndekiywkbkarxupsmbth aelawangsimaxupsmbththiwdcingey nbepnkarsthapnanikaywiny hrux l wuxcng inechingsylksnxyangepnthangkarkarsubthxdnikaywinyrungeruxngxyangmakinsmyrachwngsthng odyechphaayukhkhxngphraethratawswn mikarrcnapkrnxthibayphrawinyhlaychbb txmaoryralngxyangmakinyukhkwadlangphuththsasnarchsmyphraecathngxucng krathnginsmyrachwngssngerimkhukkhkxikkhrng miphraethrahyunkhan 允堪 rcnadikaxthibayxrrthkthakhxngphraethratawswn aelamikarsrangsimaxupsmbthphraxaramsakhy khrnthungsmyrachwngshywnaelarachwngshming nikaywinyoryraxikkhrng xyangirktam inchwngplaysmyrachwngshming miphraethranamwa kusin 古心 edinthangipyngxuithsan phuekhaskdisiththiaehngphraophthistwmychusri thanedinthangcarikdwyethaipxuithsananthung 3 pi khrnaelwbngekidnimitwaphraophthistwmychusrimasxnphrawinyaekthanxyangthalupruoprng thancungekidsrththathicaphunfuphrawinyxikkhrng odyfunfukarsuksakhmphir aelaxupsmbthwithi cnthanidrbchayawa epnphraxubalithanthisxng karfunfukhxngthan kusin prasbkhwamsaercxyangmak thaihnikaywinyaephrhlayipthwcinxikkhrng cakrachwngshming subtxmathungrachwngsching krathngthungyukhsatharnrth phraethrahngxi 弘一 idfunfunikaywinyxikkhrng dwykarsuksapkrnkhxngphraethratawswn sngesrimkarrksasikkhabthxyangekhrngkhrd xikthngtwthanyngwtrptibtingdngam mikhwamphakephiyrinkarsngesrimphuththsasna yngsrththaihekidaeksathuchncinxyangmhasal nbepnkarsubthxdnikaywinymiihsuyhaykhrngsakhykhrnghnungkhasxnnikaynithuxwa thasilimbrisuththiaelw smathi pyyakyakcaekidkhunid aelaidaebngpraephthkhxngsilxxktamkhtimhayan khux triwisuththisil xnidaek smpharsngkhhsil eniyblukngikay idaekkarngdewn karprakxbxkuslkrrm thiphidbthbyytiaehngwiny kuslsngkhhsil eniybesiynghwbkay idaekkarprakxbkuslkrrmimkhad sttwarthkriyasngkhhsil eniybocngesngkay idaekkarbaephypraoychnsukhaeksrrphstw thng 3 prakarnitangxasykn echn ngdewnpanatibat cdepnsmpharsngkhhsil emuximkhacitkepnkusl cdepnkuslsngkhhsil aelaemuxcitepnkuslkphlxymiemttakrunachwyehluxstw cdepnsttwarthkriyasngkhhsil nikayniyngidcdrayakalaehngphrathrrmethsnakhxngphraphuththxngkhepn 3 khux sikhwbcng idaekfaysrwastiwathin thuxwarupthrrmepnpthtthankhxngsil thngniephraathuxwasingthngpwngmixyu aekemiyngcng idaekmhayankhtisunytwathin thithuxwapthtthankhxngsil imepnrupthrrmhruxnamthrrm thngnikenuxngdwymikhtiwa thrrmthngpwngimmiphawa darngxyuephiyngsmmtibyyti xikacng idaekmhayanfayoykhacarthithuxwa pthtthankhxngsilidaekic dwymikhtiwasingthngpwngepnpraktkarnkhxngicpkrnsakhy 四分律 sihungluk thanphuththysknthanetkhukehniymaepl 十诵律 cbsngluk thanpunyatra kbthankumarchiphaepl 五分律 ohngwhungluk thanphuththchiwakb thanetketaechngaepl 摩诃僧袛律 mxhxecngtiluk thanphuththphthrkbthanhwbehiynaepl nxkcakni yngmi mulsrwastiwathwiny aeplodythanngiecng srwastiwathwinymatika aeplodythansngkhwrmn aelamulsrwastiwathphiksuniwiny aeplodythanngiecng epnxathi inswnkhxngthantawswn minganrcna xathi suxefinl wux pichiwhan cueciyepin 四分律比丘含注戒本 aela suxefinl wux san pu suyci eciyhmw 四分律删补随机羯磨 epnxathixangxingthwiwthn punthrikwiwthn sasnaaelaprchyaincin thiebt aelayipun Rulu 2012 Bodhisattva Precepts hna 8 esthiyr ophthinntha prchyamhayan Rulu 2012 Bodhisattva Precepts hna 8 Vinaya Sect in Han Buddhism Rulu 2012 Bodhisattva Precepts hna 11 Rulu 2012 Bodhisattva Precepts hna 11 Rulu 2012 Bodhisattva Precepts hna 12 esthiyr ophthinntha prchyamhayan esthiyr ophthinntha prchyamhayan esthiyr ophthinntha prchyamhayanbrrnanukrmesthiyr ophthinntha prchyamhayan krungethph mhamkutrachwithyaly thwiwthn punthrikwiwthn sasnaaelaprchyaincin thiebt aelayipun kthm sukhphaphic 2545 Rulu 2012 Bodhisattva Precepts AuthorHouse Haicheng Ling 2004 Buddhism in China Chinese Intercontinental Press Vinaya Sect in Han Buddhism cak http wiki china org cn