ยูเนียน (อังกฤษ: union) หรือ ส่วนรวม คือการดำเนินการของเซต เป็นการสร้างเซตใหม่ซึ่งเป็นผลจากการรวมสมาชิกทั้งหมดของเซตต้นแบบเข้าด้วยกัน เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ∪ (คล้ายอักษรตัวใหญ่ U)
นิยาม
สมมติว่า U ได้นิยามแล้ว กำหนดให้เซตสองเซต A และ B เป็นเซตย่อยของ U การยูเนียนจะให้ผลเป็นเซตใหม่ที่มีสมาชิกทั้งหมดที่ปรากฏอยู่ใน A หรือ B โดยไม่มีสมาชิกอื่นนอกเหนือจากนี้ นั่นคือ
หากทั้งสองเซตมีสมาชิกที่แตกต่างกัน นั่นคือสมาชิกของเซต A จะไม่ปรากฏในเซต B และในทางกลับกันด้วย ผลที่ได้จากการยูเนียนจะเป็นการนำสมาชิกทั้งหมดจากทั้งสองเซตมาใส่รวมกันทันที ตัวอย่างเช่น
ในกรณีที่ทั้งสองเซตมีสมาชิกบางส่วนซ้ำกัน การรวมสมาชิกจะไม่ส่งผลต่อภาวะเชิงการนับ (cardinality) ของเซต เนื่องจากสมาชิกตัวที่ซ้ำกันก็เสมือนมีอยู่เพียงตัวเดียวในเซต เช่นตัวอย่างนี้
สมบัติ
ยูเนียนมีสมบัติต่างๆ ทางพีชคณิตดังต่อไปนี้
- ยูเนียนมีสมบัติการสลับที่ ดังนั้นลำดับในการยูเนียนเซตจึงเป็นอย่างไรก็ได้
- ยูเนียนมีสมบัติการเปลี่ยนหมู่ จากตัวอย่างนี้
- สมาชิกเอกลักษณ์ของการยูเนียนคือเซตว่าง
- เซตใดๆ ที่ยูเนียนกับ จะได้เอกภพสัมพัทธ์
- ยูเนียนกับอินเตอร์เซกชัน มีสมบัติการแจกแจงซึ่งกันและกัน
- ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และส่วนเติมเต็ม มีความสัมพันธ์กันในกฎเดอมอร์แกน
รูปแบบ
ยูเนียนจำกัด
โดยทั่วไปแล้ว เราสามารถดำเนินการยูเนียนบนเซตหลายเซตได้พร้อมกัน เช่นการยูเนียนของเซต A, B, และ C จะประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดของ A, สมาชิกทั้งหมดของ B, และสมาชิกทั้งหมดของ C โดยไม่มีสมาชิกอื่นที่นอกเหนือจากนี้ นั่นหมายความว่า x จะเป็นสมาชิกของเซต A ∪ B ∪ C ก็ต่อเมื่อ x เป็นสมาชิกของ A หรือ x เป็นสมาชิกของ B หรือ x เป็นสมาชิกของ C
เนื่องด้วยยูเนียนมีสมบัติการเปลี่ยนหมู่ ซึ่งไม่สำคัญว่าจะดำเนินการยูเนียนในลำดับใดก่อน ยูเนียนจำกัด จึงหมายถึงการดำเนินการยูเนียนเป็นจำนวนจำกัดของเซตกลุ่มหนึ่ง มิได้หมายความว่าเป็นการยูเนียนของเซตจำกัด
ยูเนียนไม่จำกัด
อีกแนวคิดหนึ่งคือการยูเนียนเกี่ยวข้องกับกลุ่มของเซต ถ้าให้ M คือเซตที่มีสมาชิกเป็นกลุ่มของเซตเหล่านั้น (เซตของเซต) x จะเป็นสมาชิกของการยูเนียนของ M ก็ต่อเมื่อ มีเซต A ซึ่งเป็นสมาชิกของ M อย่างน้อยหนึ่งตัว และ x ก็เป็นสมาชิกของ A เขียนแทนด้วย หรือ ดังนี้
การยูเนียนของ M ในลักษณะนี้ไม่สำคัญว่า M จะมีจำนวนสมาชิก (จำนวนเซต) มากเท่าใด
สัญกรณ์ หมายถึงการยูเนียนของกลุ่มเซต Ai ทั้งหมด โดยที่ i เป็นสมาชิกของ I ซึ่งเป็นสัญกรณ์แบบเดียวกับการเขียนอนุกรม สำหรับ ยูเนียนไม่จำกัด (หรือยูเนียนอนันต์) เซตดัชนี I จะเป็นเซตไม่จำกัด เช่นจำนวนธรรมชาติ สามารถเขียนได้ดังนี้
อินเตอร์เซกชันสามารถแจกแจงได้บนยูเนียนไม่จำกัด
และยูเนียนไม่จำกัดสามารถผสานเข้ากับอินเตอร์เซกชันไม่จำกัด จนเกิดเป็นกฎนี้ขึ้นมา
อ้างอิง
- วัชรี กาญจน์กีรติ, พีชคณิตนามธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- Infinite Union and Intersection at ProvenMath De Morgan's laws formally proven from the axioms of set theory.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yueniyn xngkvs union hrux swnrwm khuxkardaeninkarkhxngest epnkarsrangestihmsungepnphlcakkarrwmsmachikthnghmdkhxngesttnaebbekhadwykn ekhiynaethndwysylksn khlayxksrtwihy U niyamsmmtiihwngklmsxngwngepnest A kb B phunthisimwngkhuxkaryueniynkhxngestthngsxng smmtiwa U idniyamaelw kahndihestsxngest A aela B epnestyxykhxng U karyueniyncaihphlepnestihmthimismachikthnghmdthipraktxyuin A hrux B odyimmismachikxunnxkehnuxcakni nnkhux A B x U x A x B displaystyle A cup B x in mathbf U x in A lor x in B dd hakthngsxngestmismachikthiaetktangkn nnkhuxsmachikkhxngest A caimpraktinest B aelainthangklbkndwy phlthiidcakkaryueniyncaepnkarnasmachikthnghmdcakthngsxngestmaisrwmknthnthi twxyangechn A 1 2 3 4 B 5 6 7 8 A B 1 2 3 4 5 6 7 8 displaystyle begin aligned A amp 1 2 3 4 B amp 5 6 7 8 A cup B amp 1 2 3 4 5 6 7 8 end aligned dd inkrnithithngsxngestmismachikbangswnsakn karrwmsmachikcaimsngphltxphawaechingkarnb cardinality khxngest enuxngcaksmachiktwthisaknkesmuxnmixyuephiyngtwediywinest echntwxyangni A 1 2 3 B 2 3 4 A B 1 2 3 4 displaystyle begin aligned A amp 1 2 3 B amp 2 3 4 A cup B amp 1 2 3 4 end aligned dd smbtiyueniynmismbtitang thangphichkhnitdngtxipni yueniynmismbtikarslbthi dngnnladbinkaryueniynestcungepnxyangirkid A B B A displaystyle A cup B B cup A yueniynmismbtikarepliynhmu caktwxyangni A B C A B C A B C displaystyle A cup B cup C A cup B cup C A cup B cup C smachikexklksnkhxngkaryueniynkhuxestwang A A A displaystyle varnothing cup A A cup varnothing A estid thiyueniynkb caidexkphphsmphthth U A A U U displaystyle mathbf U cup A A cup mathbf U mathbf U yueniynkbxinetxreskchn mismbtikaraeckaecngsungknaelakn A B C A B A C B C A B A C A displaystyle A cup B cap C A cup B cap A cup C Longleftrightarrow B cap C cup A B cup A cap C cup A A B C A B A C B C A B A C A displaystyle A cap B cup C A cap B cup A cap C Longleftrightarrow B cup C cap A B cap A cup C cap A yueniyn xinetxreskchn aelaswnetimetm mikhwamsmphnthkninkdedxmxraekn A B C AC BC displaystyle A cup B mathrm C A mathrm C cap B mathrm C A B C AC BC displaystyle A cap B mathrm C A mathrm C cup B mathrm C rupaebbyueniyncakd odythwipaelw erasamarthdaeninkaryueniynbnesthlayestidphrxmkn echnkaryueniynkhxngest A B aela C caprakxbdwysmachikthnghmdkhxng A smachikthnghmdkhxng B aelasmachikthnghmdkhxng C odyimmismachikxunthinxkehnuxcakni nnhmaykhwamwa x caepnsmachikkhxngest A B C ktxemux x epnsmachikkhxng A hrux x epnsmachikkhxng B hrux x epnsmachikkhxng C enuxngdwyyueniynmismbtikarepliynhmu sungimsakhywacadaeninkaryueniyninladbidkxn yueniyncakd cunghmaythungkardaeninkaryueniynepncanwncakdkhxngestklumhnung miidhmaykhwamwaepnkaryueniynkhxngestcakd yueniynimcakd xikaenwkhidhnungkhuxkaryueniynekiywkhxngkbklumkhxngest thaih M khuxestthimismachikepnklumkhxngestehlann estkhxngest x caepnsmachikkhxngkaryueniynkhxng M ktxemux miest A sungepnsmachikkhxng M xyangnxyhnungtw aela x kepnsmachikkhxng A ekhiynaethndwy M displaystyle bigcup mathbf M hrux A MA displaystyle bigcup A in mathbf M A dngni x M A M x A displaystyle x in bigcup mathbf M iff exists A in mathbf M x in A dd karyueniynkhxng M inlksnaniimsakhywa M camicanwnsmachik canwnest makethaid sykrn i IAi displaystyle bigcup i in I A i hmaythungkaryueniynkhxngklumest Ai thnghmd odythi i epnsmachikkhxng I sungepnsykrnaebbediywkbkarekhiynxnukrm sahrb yueniynimcakd hruxyueniynxnnt estdchni I caepnestimcakd echncanwnthrrmchati samarthekhiyniddngni i 1 Ai A1 A2 A3 displaystyle bigcup i 1 infty A i A 1 cup A 2 cup A 3 cup dots dd xinetxreskchnsamarthaeckaecngidbnyueniynimcakd A i IBi i I A Bi displaystyle A cap bigcup i in I B i bigcup i in I A cap B i dd aelayueniynimcakdsamarthphsanekhakbxinetxreskchnimcakd cnekidepnkdnikhunma i I j JAi j j J i IAi j displaystyle bigcup i in I left bigcap j in J A i j right subseteq bigcap j in J left bigcup i in I A i j right dd xangxingwchri kaycnkirti phichkhnitnamthrrm krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2551 ISBN 978 974 03 2114 9duephimxinetxreskchn swnetimetm kardaeninkarthwiphakhwnsaaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb yueniyn Infinite Union and Intersection at ProvenMath De Morgan s laws formally proven from the axioms of set theory