มัรเญียะอ์ตักลีด ในฟิกฮ์ของอิมามียะฮ์หมายถึงนักวินิจฉัยหลักปฏิบัติศาสนกิจผู้มีคุณสมบัติครบถ้วน และมีตำราภาคปฏิบัติ (เตาฎีฮุลมะซาอิล) หรือตำราวินิจฉัย มีผู้ยึดปฏิบัติตามคำวินิจฉัยเขาในหลักปฏิบัติศาสนกิจ นักนิติศาสตร์อิสลาม (ฟุกอฮา) ส่วนใหญ่ของชีอะฮ์เชื่อว่ามุฟตีและมัรเญียะอ์ตักลีดต้องมีชีวิตอยู่ (เชคอันซอรี อ้างการเป็นมติเอกฉันท์ไว้)
ความหมายในพจนานุกรมและศัพท์ทางวิชาการของคำว่ามัรเญียะอ์
มัรเญียะอ์ ในพจนานกรม เป็นคำนามที่บ่งบอกถึงสถานที่คำว่า"อ้างอิง"ในพจนานุกรม, ชื่อของที่หมายถึงสถานที่ของบุคคลอ้างอิงถึง ดังนั้นเรียกว่าเพื่อเป็นตัวแทนของมันมากกว่าคนอื่น ก็คือ เป็นและอีกเงื่อนไขเช่น pietism และที่จำเป็นต้องใช้ความรู้ของปัญหาของโลกอิสลาม และชีอะฮ์
ความในพจนานุกรมและศัพท์ทางวิชาการของคำว่าตักลีด
ตักลีดในพจนานุกรมหมายถึงการแขวนปลอกคอ ศัพท์ทางวิชาการด้านนิติศาสตร์ (ฟิกฮ์) ก็ให้ความหมายตามนี้เช่นกัน เมื่อกล่าวว่าผู้คนได้ตักลีดตามนักการวินิจฉัย นั่นก็หมายความว่าการนำคำวินิจฉัยของเขามาแขวนคอของตนเอาไว้ จะเรียกคนปฏิบัติตามว่า มุก็อลลิด ส่วนผู้ถูกปฏิบัติตามว่า มุก็อลลัด
ในช่วงต้นอิสลาม การตักลีดมีความหมายไปทางลบ เป็นที่ตำหนิคนที่ไม่ใช่มุสลิมที่ต้องการจะปฏิบัติตามบรรพชนของพวกเขา จากศตวรรษที่สองเป็นต้นมาเริ่มให้ความหมายไปในทางบวกซึ่งครอบคลุมถึงผู้ปฏิบัติตามฮะดีษต่างๆและคำกล่าวของบรรดาสาวก
ประวัติความเป็นมา
การตัดลีดในนิกายชีอะฮ์เริ่มมีขึ้นตั้งแต่ยุคสมัยบรรดาอิมามมะอ์ซูม พวกท่านอนุญาตให้ผู้ปฏิบ้ติตามพวกท่านย้อนกลับไปหานักรายงานฮะดีษหรือสาวกผู้ใกล้ชิดของท่าน บางครั้งท่านสนับสนุนให้สาวกของท่านประจำการที่มัสญิดและศูนย์กลางต่างๆเพื่อออกคำวินิจฉัยและชี้นำประชาชน การสนับสนุนส่งเสริมเกี่ยวกับเรื่องนี้ในยุคสมัยอิมามมะอ์ซูม ก็เนื่องจากว่าระยะทางที่ห่างไกลกันของแต่ละเมือง การเดินทางไม่สะดวกเนื่องจากไม่มียานพาหนะ จึงเป็นการยากลำบากที่ประชาชนจะเดินทางมาเข้าพบบรรดาอิมาม อีกทั้งเรื่องการอำพรางตน (ตะกียะฮ์) สรุปคือเป็นการยากที่จะเข้าพบอิมามได้โดยตรง ในยุคการเร้นกายระยะสั้นประชาชนเริ่มรู้สึกถึงความจำเป็นในการตักลีดในเรื่องหลักปฏิบัติศาสนกิจมากยิ่งขึ้น ตามหลักฐานสาส์น (เตาเกี้ยะอ์) ฉบับสุดท้ายของอิมามท่านที่สิบสองของชีอะฮ์ ได้แนะนำแหล่งย้อนกลับเรืื่องหลักปฏิบ้ติศาสนกิจใหม่ๆ คือบรรดานักนิติศาสตร์อิสลาม (ฟุกอฮา) ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและจำเป็นที่ผู้คนต้องปฏิบัติตามพวกเขา
การตักลีดในตำรา อุซูลุลฟิกฮ์ ถูกให้นิยามเชิงวิชาการตั้งแต่ศตวรรษที่สี่ เดิมทีความหมายนี้ไม่ได้เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต่อมาเรียกกันว่า "มัรเญียะอ์" เลย บุคคลแรกในหมู่ชีอะฮ์ที่เป็นมัรเญียะอ์ คือ เชคฏูซี ซึ่งอยู่ในศตวรรษที่ห้า บรรดาผู้รู้ท่านอื่นถือว่าตนเป็นผู้ปฏิบัติตามเขา และการบอกคำกล่าวของเขาต่อมาภายหลังเรียกกันว่า "ตักลีด" การตักลีดนี้ เรียกว่าเป็นการตักลีดตามผู้รู้ แต่หลักการตักลีดทั่วไปกับนักการวินิจฉัยหลักปฏิบัติศาสนกิจนั้นเริ่มชัดเจนขึ้นในช่วงศตวรรษที่สิบ
เดิมทีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนกับบรรดานักนิติศาสตร์ที่ยิ่งใหญ ที่เรียกกันว่า "มัรเญียะอ์" นั้นเป็นการปฏิสัมพันธ์ที่กระจัดกระจาย ในลักษณะที่ว่าในแต่ละพื้นที่ก็จะมีฟะกีฮ์หนึ่งท่านหรือหลายท่าน ต่อมาในยุคซอฟะวี บรรดาผู้รู้ได้อพยพเข้าจากJabal Amel เลบานอน สู่ราชอาณาจักรซอฟะวี จึงเริ่มเกิดศูนย์กลางนักการศาสนาขึ้น ซึ่งมีชื่อเสียงมากว่าในพื้นที่ของตนเอง ศูนย์กลางที่มีชื่อเสียงที่สุดเกิดขึ้นในยุคของอายาตุลลอฮ์บุรูญัรดี ในสถาบันศาสนาแห่งเมืองกุม ท่านกลายเป็นมัรเญียะอ์ที่โดดเด่นโดยไม่มีผู้ใดเทียบเทียมในบรรดาชีอะฮ์ ภายหลังจากการเสียชีวิตของท่านก็เป็นยุคที่เกิดมัรเญียะอ์ขึ้นอย่างมากมาย
บทบาทของมัรเญียะอ์ตักลีดของชีอะฮ์
ในมุมมองของนิติศาสตร์ บรรดานักนิติศาสตร์ (ฟุกอฮา)ของชีอะฮ์ คือตัวแทนทั่วไปของอิมามในเรื่องหลักการศาสนา การวินิจฉัยและอธิบายหลักปฏิบัติศาสนกิจของศาสนาอิสลามในยุคที่อิมามแห่งยุคเร้นกาย
ตลอดหน้าประวัติศาสตร์ของชีอะฮ์ บรรดามัรเญียะอ์ของชีอะฮ์มีบทบาทที่สำคัญในเรื่องของศาสนา ทางด้านความคิด การเมือง และสังคม เช่น คำวินิจฉัยห้ามยาสูบโดย มัรซอ ชีอรอซี ในยุคการปกครองของกอจอรกระทั่งเป็นเหตุให้ยกเลิกการผลิตยาสูบในที่สุด
มัรเญียะอ์ทั่วไป
ในแต่ละยุคแต่ละสมัยโดยเฉพาะยุคปัจจุบันมีนักการวินิจฉัยหลักปฏิบัติศาสนกิจจำนวนมากที่ถูกรู้จักกันในนาม มัรเญียะอ์ แต่มัรเญียะอ์ทั่วไป หมายถึงมัรเญียะอ์ที่ถูกรู้จักกันในประเทศต่างๆ มีผู้ปฏิบัติตามจำนวนหนึ่ง และการออกคำวินิจฉัยของเขาเป็นที่ให้ความสนใจของมัรเญียะอ์แห่งยุคท่านอื่น ในขณะเดีียวกันมัรเญียะอ์ทั่วไปอาจมีหลายคนก็ได้
ตำแหน่งมัรเญียะอ์สูงสุด
ในแต่ละยุคแต่ละสมัยจะมีมัรเญียะอ์ที่มีความรู้สูงกว่าท่านอื่นๆ และผู้คนส่วนมากจะปฏิบัติตามเขา จะเรียกกันว่า มัรญีอียัต อะอ์ลา หรือ มัรญีอียัต กุล มีฐานะภาพที่สูงส่งกว่าในสังคมของชีอะฮ์ ในปัจจุบันไม่มีทัศนะที่เป็นเอกฉันท์จึงไม่อาจระบุได้ว่าผู้ใดอยู่ในตำแหน่งมัรเญียะอ์สูงสุด
บรรดามัรเญียะอ์ที่ถูกรู้จักในปัจจุบัน
บรรดามัรเญียะอ์บางท่านของชีอะฮ์มีตำราภาคปฏิบัติ และมีผู้ปฏิบัติตามมากมายในภูมิภาคต่างๆ ซึ่งถูกกล่าวไว้แล้วในที่นี้
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
แหล่งอ้างอิง
แหล่งข้อมูล
- "Biographical จะอ้างอิงไปยังส่วนของขวัญ" 2011-08-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนนะ ศูนย์ข้อมูลทั่วไป آلالبیتน แฟ้มจัดเก็บมาจากดั้งเดิมกันตั้งกะเดือนมิถุนายน ۱۳۸۸น
{{}}
: Citation ว่างเปล่า ((help))
- محمدی، اصول فقه. ۱۹۰
- محمدی، ابوالحسن. اصول فقه. چاپ هجدهم. تهران: دانشگاه تهران، ۱۳۸۳. ص ۳۶۳. ISBN 964-03-4076-6.
- مرجعیت و دین دولتی شده با نظر به قضیهٔ آیتالله صانعی رضا نیکجو، دویچه وله، ۵ ژانویه ۲۰۱۰
- تقلید بنیاد دائرةالمعارف اسلامی
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mreyiyaxtklid infikhkhxngximamiyahhmaythungnkwinicchyhlkptibtisasnkicphumikhunsmbtikhrbthwn aelamitaraphakhptibti etadihulmasaxil hruxtarawinicchy miphuyudptibtitamkhawinicchyekhainhlkptibtisasnkic nknitisastrxislam fukxha swnihykhxngchixahechuxwamuftiaelamreyiyaxtklidtxngmichiwitxyu echkhxnsxri xangkarepnmtiexkchnthiw khwamhmayinphcnanukrmaelasphththangwichakarkhxngkhawamreyiyaxmreyiyax inphcnankrm epnkhanamthibngbxkthungsthanthikhawa xangxing inphcnanukrm chuxkhxngthihmaythungsthanthikhxngbukhkhlxangxingthung dngnneriykwaephuxepntwaethnkhxngmnmakkwakhnxun kkhux epnaelaxikenguxnikhechn pietism aelathicaepntxngichkhwamrukhxngpyhakhxngolkxislam aelachixahkhwaminphcnanukrmaelasphththangwichakarkhxngkhawatklidtklidinphcnanukrmhmaythungkaraekhwnplxkkhx sphththangwichakardannitisastr fikh kihkhwamhmaytamniechnkn emuxklawwaphukhnidtklidtamnkkarwinicchy nnkhmaykhwamwakarnakhawinicchykhxngekhamaaekhwnkhxkhxngtnexaiw caeriykkhnptibtitamwa mukxllid swnphuthukptibtitamwa mukxlld inchwngtnxislam kartklidmikhwamhmayipthanglb epnthitahnikhnthiimichmuslimthitxngkarcaptibtitambrrphchnkhxngphwkekha cakstwrrsthisxngepntnmaerimihkhwamhmayipinthangbwksungkhrxbkhlumthungphuptibtitamhadistangaelakhaklawkhxngbrrdasawkprawtikhwamepnmakartdlidinnikaychixaherimmikhuntngaetyukhsmybrrdaximammaxsum phwkthanxnuyatihphuptibtitamphwkthanyxnklbiphankraynganhadishruxsawkphuiklchidkhxngthan bangkhrngthansnbsnunihsawkkhxngthanpracakarthimsyidaelasunyklangtangephuxxxkkhawinicchyaelachinaprachachn karsnbsnunsngesrimekiywkberuxngniinyukhsmyximammaxsum kenuxngcakwarayathangthihangiklknkhxngaetlaemuxng karedinthangimsadwkenuxngcakimmiyanphahna cungepnkaryaklabakthiprachachncaedinthangmaekhaphbbrrdaximam xikthngeruxngkarxaphrangtn takiyah srupkhuxepnkaryakthicaekhaphbximamidodytrng inyukhkarernkayrayasnprachachnerimrusukthungkhwamcaepninkartklidineruxnghlkptibtisasnkicmakyingkhun tamhlkthansasn etaekiyax chbbsudthaykhxngximamthanthisibsxngkhxngchixah idaenanaaehlngyxnklberuuxnghlkptibtisasnkicihm khuxbrrdanknitisastrxislam fukxha thimikhunsmbtikhrbthwnaelacaepnthiphukhntxngptibtitamphwkekha kartklidintara xusululfikh thukihniyamechingwichakartngaetstwrrsthisi edimthikhwamhmayniimidekiywkhxngkbsingthitxmaeriykknwa mreyiyax ely bukhkhlaerkinhmuchixahthiepnmreyiyax khux echkhtusi sungxyuinstwrrsthiha brrdaphuruthanxunthuxwatnepnphuptibtitamekha aelakarbxkkhaklawkhxngekhatxmaphayhlngeriykknwa tklid kartklidni eriykwaepnkartklidtamphuru aethlkkartklidthwipkbnkkarwinicchyhlkptibtisasnkicnnerimchdecnkhuninchwngstwrrsthisib edimthiptismphnthrahwangphukhnkbbrrdanknitisastrthiyingihy thieriykknwa mreyiyax nnepnkarptismphnththikracdkracay inlksnathiwainaetlaphunthikcamifakihhnungthanhruxhlaythan txmainyukhsxfawi brrdaphuruidxphyphekhacakJabal Amel elbanxn surachxanackrsxfawi cungerimekidsunyklangnkkarsasnakhun sungmichuxesiyngmakwainphunthikhxngtnexng sunyklangthimichuxesiyngthisudekidkhuninyukhkhxngxayatullxhburuyrdi insthabnsasnaaehngemuxngkum thanklayepnmreyiyaxthioddednodyimmiphuidethiybethiyminbrrdachixah phayhlngcakkaresiychiwitkhxngthankepnyukhthiekidmreyiyaxkhunxyangmakmaybthbathkhxngmreyiyaxtklidkhxngchixahinmummxngkhxngnitisastr brrdanknitisastr fukxha khxngchixah khuxtwaethnthwipkhxngximamineruxnghlkkarsasna karwinicchyaelaxthibayhlkptibtisasnkickhxngsasnaxislaminyukhthiximamaehngyukhernkay tlxdhnaprawtisastrkhxngchixah brrdamreyiyaxkhxngchixahmibthbaththisakhyineruxngkhxngsasna thangdankhwamkhid karemuxng aelasngkhm echn khawinicchyhamyasubody mrsx chixrxsi inyukhkarpkkhrxngkhxngkxcxrkrathngepnehtuihykelikkarphlityasubinthisudmreyiyaxthwipinaetlayukhaetlasmyodyechphaayukhpccubnminkkarwinicchyhlkptibtisasnkiccanwnmakthithukruckkninnam mreyiyax aetmreyiyaxthwip hmaythungmreyiyaxthithukruckkninpraethstang miphuptibtitamcanwnhnung aelakarxxkkhawinicchykhxngekhaepnthiihkhwamsnickhxngmreyiyaxaehngyukhthanxun inkhnaediiywknmreyiyaxthwipxacmihlaykhnkidtaaehnngmreyiyaxsungsudinaetlayukhaetlasmycamimreyiyaxthimikhwamrusungkwathanxun aelaphukhnswnmakcaptibtitamekha caeriykknwa mryixiyt xaxla hrux mryixiyt kul mithanaphaphthisungsngkwainsngkhmkhxngchixah inpccubnimmithsnathiepnexkchnthcungimxacrabuidwaphuidxyuintaaehnngmreyiyaxsungsudbrrdamreyiyaxthithukruckinpccubnbrrdamreyiyaxbangthankhxngchixahmitaraphakhptibti aelamiphuptibtitammakmayinphumiphakhtang sungthukklawiwaelwinthinilingkthiekiywkhxngphraeca tklidaehlngxangxingaehlngkhxmul Biographical caxangxingipyngswnkhxngkhwy 2011 08 18 thi ewyaebkaemchchinna sunykhxmulthwip آلالبیتn aefmcdekbmacakdngedimkntngkaeduxnmithunayn ۱۳۸۸ n a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a Citation wangepla help محمدی اصول فقه ۱۹۰ محمدی ابوالحسن اصول فقه چاپ هجدهم تهران دانشگاه تهران ۱۳۸۳ ص ۳۶۳ ISBN 964 03 4076 6 مرجعیت و دین دولتی شده با نظر به قضیه آیت الله صانعی رضا نیکجو دویچه وله ۵ ژانویه ۲۰۱۰ تقلید بنیاد دائرةالمعارف اسلامی