คาร์ล วิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช (ฟ็อน) ชเลเกิล (เยอรมัน: Karl Wilhelm Friedrich (von) Schlegel) หรือที่นิยมเรียก ฟรีดริช ชเลเกิล เป็นนักกวี, นักวิจารณ์วรรณกรรม, นักปรัชญา, นักนิรุกติศาสตร์ และนักภารตศึกษาชาวเยอรมัน เขากับพี่ชาย ถือเป็นบุคคลสำคัญด้านศิลปะจินตนิยมในเมืองเยนา เขายังเป็นผู้บุกเบิกวิชาอินเดีย-ยุโรปศึกษา (Indo-European studies), ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ (Comparative linguistics) และการจัดกลุ่มภาษาตามลักษณะโครงสร้างคำ (Morphological typology) ชเลเกิลสมัยที่เป็นวัยรุ่นเป็นพวกอเทวนิยม หัวสุดโต่ง และชอบอยู่ลำพัง อย่างไรก็ตาม ใน ค.ศ. 1808 ชเลเกิลคนเดิมหันไปนับถือโรมันคาทอลิก
ฟรีดริช ชเลเกิล Friedrich Schlegel | |
---|---|
ฟรีดริช ชเลเกิล ในปี 1801 | |
เกิด | 10 มีนาม ค.ศ. 1772 ฮันโนเฟอร์ แคว้นเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค |
เสียชีวิต | 12 มกราคม ค.ศ. 1829 เดรสเดิน ราชอาณาจักรซัคเซิน |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช |
ยุค | ศตวรรษที่ 19 |
แนวทาง | ปรัชญาตะวันตก |
ความสนใจหลัก | ญาณวิทยา, นิรุกติศาสตร์, |
ได้รับอิทธิพลจาก | |
เป็นอิทธิพลต่อ |
ชเลเกิลเกิดที่เมืองฮันโนเฟอร์ รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นบุตรของบาทหลวงโยฮัน อาด็อล์ฟ ชเลเกิล (Johann Adolf Schlegel) เขาศึกษาวิชากฎหมายที่เกิททิงเงินและไลพ์ซิชเป็นเวลาสองปีและได้รู้จักกับฟรีดริช ชิลเลอร์ ต่อมาในปีค.ศ. 1796 เขาย้ายไปอยู่กับพี่ชายที่เมืองเยนา ที่นั่นเขาได้ทำงานร่วมกับบุคคลแนวหน้าอย่างโนวาลิส, และฟิชเทอ
อ้างอิง
- Michael N. Forster, After Herder: Philosophy of Language in the German Tradition, Oxford University Press, 2010, p. 9.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kharl wilehlm fridrich fxn chelekil eyxrmn Karl Wilhelm Friedrich von Schlegel hruxthiniymeriyk fridrich chelekil epnnkkwi nkwicarnwrrnkrrm nkprchya nkniruktisastr aelankphartsuksachaweyxrmn ekhakbphichay thuxepnbukhkhlsakhydansilpacintniyminemuxngeyna ekhayngepnphubukebikwichaxinediy yuorpsuksa Indo European studies phasasastrepriybethiyb Comparative linguistics aelakarcdklumphasatamlksnaokhrngsrangkha Morphological typology chelekilsmythiepnwyrunepnphwkxethwniym hwsudotng aelachxbxyulaphng xyangirktam in kh s 1808 chelekilkhnedimhnipnbthuxormnkhathxlikfridrich chelekil Friedrich Schlegelfridrich chelekil inpi 1801ekid10 minam kh s 1772 hnonefxr aekhwnebranchiwkh luxenxbwrkhesiychiwit12 mkrakhm kh s 1829 edrsedin rachxanackrskhesinsisyekamhawithyalyekiththingengin mhawithyalyilphsichyukhstwrrsthi 19aenwthangprchyatawntkkhwamsnichlkyanwithya niruktisastr idrbxiththiphlcak ximmanuexl khant oyhn kxthliph fichethx oyhn kxthfrith aehredxrepnxiththiphltx chelekilekidthiemuxnghnonefxr rthphukhdeluxkebranchiwkh luxenxbwrkh inckrwrrdiormnxnskdisiththi epnbutrkhxngbathhlwngoyhn xadxlf chelekil Johann Adolf Schlegel ekhasuksawichakdhmaythiekiththingenginaelailphsichepnewlasxngpiaelaidruckkbfridrich chilelxr txmainpikh s 1796 ekhayayipxyukbphichaythiemuxngeyna thinnekhaidthanganrwmkbbukhkhlaenwhnaxyangonwalis aelafichethxxangxingMichael N Forster After Herder Philosophy of Language in the German Tradition Oxford University Press 2010 p 9