บทความนี้ทั้งหมดหรือบางส่วน มีเนื้อหา รูปแบบ หรือลักษณะการนำเสนอที่ |
ปสาทรูป เป็นศัพท์ที่อยู่ในพระพุทธศาสนา ปสาท แปลว่าความใส คือ รูปที่มีความใส สามารถรับอารมณ์ได้
1. จักขุปสาทรูป (คือ ประสาทตา) เป็นรูปที่มีความใสดุจกระจกเงา ตั้งอยู่กลางตาดำ โตเท่าหัวเหา มีเยื่อตาบาง ๆ เจ็ดชั้นรองรับอยู่ สามารถที่จะรับภาพ (รูปารมณ์) ต่าง ๆจักขุปสาทรูปนี้ มีหน้าที่ 2 อย่าง คือ เป็นวัตถุที่ตั้งแห่งจักขุวิญญาณจิต และ จักขุทวารวิถี
2. โสตปสาทรูป (คือ ประสาทหู) เป็นรูปที่มีความใสสามารถรับเสียง (สัททารมณ์) ได้ มีลักษณะเหมือนวงแหวน มีขนสีแดงเส้นละเอียดอยู่โดยรอบ หน้าที่ของโสตปสาทรูปมี 2 อย่าง คือ เป็นที่ตั้งแห่งโสตวิญญาณจิต (สถานที่ที่โสตวิญญาณจิตรับรู้เสียง) และ โสตทวารวิถี (ขบวนการของจิตที่เกิดดับติดต่อกันเป็นชุด ๆ ทางหู )
3. ฆานปสาทรูป (คือ ประสาทจมูก) เป็นรูปที่มีความใส สามารถรับกลิ่นต่าง ๆ (คันธารมณ์) ได้ มีลักษณะคล้ายเท้าแพะ ฆานปสาทรูปนี้มีหน้าที่ 2 อย่างเช่นเดียวกัน คือ เป็นที่ตั้งแห่งฆานวิญญาณจิต เพื่อรับกลิ่น และเป็นที่เกิดของฆานทวารวิถี
4. ชิวหาปสาทรูป (คือ ประสาทลิ้น) เป็นรูปที่มีความใสสามารถรับรสต่าง ๆ (รสารมณ์) ได้ ซึ่งมีลักษณะเหมือนกลีบดอกบัว ชิวหาปสาทรูปนี้ก็มีหนัที่ 2 อย่าง คือ เป็นที่ตั้งแห่งชิวหาวิญญาณจิต เพื่อรับรสต่าง ๆ และเป็นที่เกิดของชิวหาทวารวิถี
5. กายปสาทรูป (คือ ประสาทกาย) เป็นความใสของกายปสาทที่สามารถรับสัมผัสต่าง ๆ (โผฏ ฐัพพารมณ์ คือ ธาตุดิน ธาตุไฟ และ ธาตุลม) ได้ มีลักษณะเป็นความใสที่มีทั่วไปตามร่างกาย ตั้งแต่ศีรษะถึงเท้า เว้นแต่เส้นผม เล็บ หรือหนังหนา ๆ จะไม่มีกายปสาท (ความรู้สึก) เวลาตัดผมตัดเล็บจึงไม่รู้สึกเจ็บ กายปสาทรูปทำหน้าที่ 2 อย่าง คือ เป็นที่ตั้งแห่งกายวิญญาณจิต และเป็นที่เกิดของกายทวารวิถี
ปสาทรูป 5 เป็นรูปที่เกิดจากกรรม ปสาทรูป หมายถึง รูปที่มีความใสเป็นที่อาศัยเกิดของจิตประเภทปัญจวิญญาณ รูปที่มีความใสนี้มีอยู่ 5 อย่าง คือ จักขุปสาทรูป โสตปสาทรูป ฆานปสาทรูป ชิวหาปสาทรูป และกายปสาทรูป ตำแหน่ง รูปร่างสัญฐาน และการเรียงตัวของเนื้อเยื่อเฉพาะ ๆ ของรูปทั้ง 5 ไม่เหมือนกัน ปสาทรูป 5 จึงเป็นที่อาศัยเกิดของจิตได้เพียงบางดวง และไม่ก้าวก่ายกัน เช่น จักขุปสาทรูป เป็นที่ตั้งของจักขุวิญญาณเพื่อทำหน้าที่เห็นเท่านั้น ส่วนโสตปสาทรูปจะเหมาะสำหรับเป็นที่อาศัยเกิดของโสตวิญญาณเพื่อทำหน้าที่ได้ยินเท่านั้น จักขุวิญญาณจะไปอาศัยเกิดที่โสตปสาทรูป เพื่อทำหน้าที่เห็น หรือแม้แต่ทำหน้าที่ได้ยินก็ไม่ได้ ปสาทรูปอื่นก็เช่นเดียวกัน คือ เป็นที่อาศัยเกิดของจิตเฉพาะดวง โดยจิตนั้นมีความสามารถรับอารมณ์ได้เฉพาะอารมณ์ของตน ๆ ไม่ปะปนกัน
อ้างอิง
อรรถกถา สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค สฬายตนสังยุตต์ อนิจจวรรคที่ ๑ ๑. อัชฌัตติกอนิจจสูตร ที่มา: เอกสารประกอบการศึกษา พระอภิธรรมทางไปรษณีย์ ชุดที่ ๒ ชีวิตคืออะไร หลักสูตร: การศึกษาพระอภิธรรมทางไปรษณีย์ ของ: อภิธรรมโชติกะวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnithnghmdhruxbangswn mienuxha rupaebb hruxlksnakarnaesnxthiimehmaasmsahrbsaranukrmoprdxphipraypyhadngklawinhnaxphipray hakbthkhwamniekhaknidkbokhrngkarphinxng oprdthakaraecngyayaethn eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir psathrup epnsphththixyuinphraphuththsasna psath aeplwakhwamis khux rupthimikhwamis samarthrbxarmnid 1 ckkhupsathrup khux prasathta epnrupthimikhwamisduckrackenga tngxyuklangtada otethahweha mieyuxtabang ecdchnrxngrbxyu samarththicarbphaph ruparmn tang ckkhupsathrupni mihnathi 2 xyang khux epnwtthuthitngaehngckkhuwiyyancit aela ckkhuthwarwithi 2 ostpsathrup khux prasathhu epnrupthimikhwamissamarthrbesiyng sththarmn id milksnaehmuxnwngaehwn mikhnsiaedngesnlaexiydxyuodyrxb hnathikhxngostpsathrupmi 2 xyang khux epnthitngaehngostwiyyancit sthanthithiostwiyyancitrbruesiyng aela ostthwarwithi khbwnkarkhxngcitthiekiddbtidtxknepnchud thanghu 3 khanpsathrup khux prasathcmuk epnrupthimikhwamis samarthrbklintang khntharmn id milksnakhlayethaaepha khanpsathrupnimihnathi 2 xyangechnediywkn khux epnthitngaehngkhanwiyyancit ephuxrbklin aelaepnthiekidkhxngkhanthwarwithi 4 chiwhapsathrup khux prasathlin epnrupthimikhwamissamarthrbrstang rsarmn id sungmilksnaehmuxnklibdxkbw chiwhapsathrupnikmihnthi 2 xyang khux epnthitngaehngchiwhawiyyancit ephuxrbrstang aelaepnthiekidkhxngchiwhathwarwithi 5 kaypsathrup khux prasathkay epnkhwamiskhxngkaypsaththisamarthrbsmphstang opht thphpharmn khux thatudin thatuif aela thatulm id milksnaepnkhwamisthimithwiptamrangkay tngaetsirsathungetha ewnaetesnphm elb hruxhnnghna caimmikaypsath khwamrusuk ewlatdphmtdelbcungimrusukecb kaypsathrupthahnathi 2 xyang khux epnthitngaehngkaywiyyancit aelaepnthiekidkhxngkaythwarwithi psathrup 5 epnrupthiekidcakkrrm psathrup hmaythung rupthimikhwamisepnthixasyekidkhxngcitpraephthpycwiyyan rupthimikhwamisnimixyu 5 xyang khux ckkhupsathrup ostpsathrup khanpsathrup chiwhapsathrup aelakaypsathrup taaehnng ruprangsythan aelakareriyngtwkhxngenuxeyuxechphaa khxngrupthng 5 imehmuxnkn psathrup 5 cungepnthixasyekidkhxngcitidephiyngbangdwng aelaimkawkaykn echn ckkhupsathrup epnthitngkhxngckkhuwiyyanephuxthahnathiehnethann swnostpsathrupcaehmaasahrbepnthixasyekidkhxngostwiyyanephuxthahnathiidyinethann ckkhuwiyyancaipxasyekidthiostpsathrup ephuxthahnathiehn hruxaemaetthahnathiidyinkimid psathrupxunkechnediywkn khux epnthixasyekidkhxngcitechphaadwng odycitnnmikhwamsamarthrbxarmnidechphaaxarmnkhxngtn impapnknxangxingxrrthktha sngyuttnikay slaytnwrrkh slaytnsngyutt xniccwrrkhthi 1 1 xchchttikxniccsutr thima exksarprakxbkarsuksa phraxphithrrmthangiprsniy chudthi 2 chiwitkhuxxair hlksutr karsuksaphraxphithrrmthangiprsniy khxng xphithrrmochtikawithyaly mhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly bthkhwamsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk