บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
ปราสาทเขมร หรือ ปราสาทขอม เป็นศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ ที่สร้างขึ้นโดยอาณาจักรเขมร ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 เป็นต้นมา พบมากในประเทศกัมพูชา และในเขตของประเทศไทย ปราสาทขอมก่อสร้างด้วยวัสดุอิฐ หินทราย และศิลาแลง ด้วยศิลปะเขมร
ในประเทศไทยมีปราสาทขอมในที่ราบสูงอีสานทั้งสิ้น 155 แห่งได้แก่ จังหวัดนครราชสีมาจำนวน 37 แห่งแล้ว จังหวัดบุรีรัมย์อีก 50 แห่ง จังหวัดสุรินทร์มีอยู่จำนวน 31 แห่ง จังหวัดชัยภูมิ 6 แห่ง จังหวัดร้อยเอ็ด 14 แห่ง จังหวัดศรีสะเกษ 11 แห่ง และจังหวัดอุบลราชธานีอีก 6 แห่ง ส่วนมากมักถูกทำลายเหลือเพียงบางส่วน
ประวัติศาสตร์
จากหลักฐานทางโบราณคดีทำให้ทราบว่าชนชาติเขมรเริ่มรวมตัวเป็นอาณาจักรหรือรัฐ มาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6 โดยพัฒนามาจากเมืองท่าที่ติดต่อค้าขายกับอินเดีย มีความเจริญภายใต้พื้นฐานของอารยธรรมอินเดีย ใช้ชื่อว่า อาณาจักรฟูนัน มีอาณาบริเวณครอบคลุมพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง (เวียดนามตอนใต้) และแม่น้ำโขงตอนใต้ (กัมพูชา) จนถึงบางส่วนในบริเวณของภาคอีสานตอนใต้ของประเทศไทย โดยมีเมืองออกแก้ว (ตะวันออกเฉียงใต้ของเวียดนาม) เป็นเมืองท่าในการติดต่อค้าขาย และมีราชธานีนามว่า“วยาธปุระ” ใกล้เขาบาพนมในประเทศกัมพูชา
อาณาจักรฟูนันมีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศทั้งกับอินเดียและจีน หลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับอาณาจักรนี้ยังดูรางเลือนหาข้อสรุปไม่ได้แน่ชัดนัก ทราบแต่เพียงว่ากษัตริย์องค์สุดท้ายคือ รุทรวรมัน และนับถือศาสนาพราหมณ์ที่ได้รับมาจากอินเดียเป็นหลัก
พุทธศตวรรษที่ 12 อาณาจักรเจนฬา ซึ่งแต่เดิมเป็นรัฐหนึ่งของอาณาจักรฟูนัน มีอาณาบริเวณตั้งแต่เมืองจำปาศักดิ์-ภูเขาวัดภู ในปัจจุบันคือบริเวณทางตอนใต้ของประเทศลาวและทางภาคเหนือของประเทศกัมพูชา ราชธานีของอาณาจักรเจนฬาคือ เมือง “เศรษฐปุระ” อาณาจักรเจนฬามีพื้นฐานอารยธรรมสืบต่อมาจากอาณาจักรฟูนันรวมทั้งการนับถือศาสนาพราหมณ์ด้วย
พระเจ้าภววรมัน ปฐมกษัตริย์ของเจนฬาได้ยึดวยาธปุระจากรุทรวรมัน ต่อมาพระอนุชาของภววรมันคือ พระเจ้ามเหนทรวรมันที่ 1 ได้เข้ายึดฟูนันและปราบปรามได้ ทำให้อาณาจักรเจนฬาได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางยิ่งกว่าเดิม จนล่วงพุทธศตวรรษที่ 13 อาณาจักรเจนฬาได้ถูกกษัตริย์ชวาจากราชวงศ์ไศเลนทร์แห่งอาณาจักรชวาภาคกลางรุกราน จึงทำให้เจนฬาแตกออกเป็น 2 ส่วนคือ เจนฬาบก และ เจนฬาน้ำซึ่งถูกชวายึดครองได้ นอกจากนี้อาณาจักรชวายังได้นำตัวรัชทายาทคือ เจ้าชายชัยวรมันที่ 2 ไปเป็นตัวประกันที่อาณาจักรชวาอีกด้วย ซึ่งเป็นระบบที่เรียกว่าตัวจำนำเพื่อรับรองความจงรักภักดีของอาณาจักรเขมร
ต่อมาในปี พ.ศ. 1350 ชัยวรมันที่ 2 ได้ยกทัพขึ้นมาประกาศเอกราชจากอาณาจักรชวา และยังรวมอาณาจักรเจนฬาบกและเจนฬาน้ำที่แตกแยกเข้าด้วยกัน สร้างความเป็นปึกแผ่นให้กับอาณาจักรเขมรใหม่ และขนานนามใหม่ว่า เมืองกัมโพชน์ตะวันออก โดยแยกตัวมาจากอาณาจักรลโวทยหรือละโว้ หรือปัจจุบันเรียกว่า ลพบุรี พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ทรงตั้งราชธานีของเมืองกัมโพชน์ในบริเวณทางเหนือของทะเลสาบเขมร พระองค์ทรงขยายพระราชอำนาจเข้าไปถึงบริเวณลุ่มแม่น้ำบริเวณอีสานใต้ของประเทศไทยในจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์และศรีสะเกษ
ลัทธิเทวราชาและการก่อสร้างปราสาท
พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ทรงสถาปนาลัทธิเทวราชา คือยกฐานะกษัตริย์ให้เป็นเทพเจ้าหรือเป็นกษัตริย์สูงสุด เป็นการปูพื้นฐานระบบเทวราชาให้อาณาจักรอื่นๆเป็นแบบอย่าง รวมถึงสยามซึ่งรับระบบนี้มาใช้ด้วยเช่นกัน ระบบเทวราชานี้มีส่วนทำให้พราหมณ์เข้ามามีบทบาทในราชสำนัก ในฐานะผู้เชี่ยวชาญศิลปศาสตร์ต่างๆ และประกอบพิธีราชาภิเษกให้กับกษัตริย์
ลัทธิเทวราชาหรือระบบเทวราชา ต่างจากลัทธิไศวนิกายแลไวษณพนิกายคือ ก่อนหน้านั้นกษัตริย์เป็นเพียงมนุษย์ที่นับถือเทพเจ้า แต่ลัทธิราชานั้นถือว่ากษัตริย์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับเทพเจ้าคือเทพเจ้าแบ่งภาคลงมาจุติเป็นกษัตริย์นั่นเอง เมื่อกษัตริย์เสวยราชย์แล้วต้องกระทำ 3 สิ่ง คือ
- ขุดสระชลประทานหรือที่เรียกว่า บาราย ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เขมรมีความยิ่งใหญ่ เพราะเนื่องจากเขมรก็ไม่นิยมตั้งถิ่นฐานใกล้แม่น้ำเท่าใดนัก ที่เมืองพระนครมีบารายขนาดใหญ่หลายบาราย เช่น บารายอินทรฏกะ
- กษัตริย์ต้องสร้างศาสนสถานบนฐานเตี้ยๆ อุทิศถวายบรรพบุรุษ หรือปราสาทสร้างบนฐานเตี้ยๆเพียงชั้นเดียว เช่น ที่พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้กับบรรพบุรุษของพระองค์
- ต้องสร้างศาสนสถานบนฐานเป็นชั้น หรือปราสาทแบบยกฐานเป็นชั้นสูงหลายชั้นเพื่อเป็นที่สถิตของเทพเจ้า หากเป็นศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกายจะประดิษฐานศิวลึงค์ของสัญลักษณ์แห่งองค์พระอิศวร หรือศาสนาพราหมณ์ลัทธิไวษณพนิกายก็จะประดิษฐานเทวรูปพระวิษณุ และมีความเชื่อว่าเมื่อกษัตริย์สิ้นพระชนม์วิญญาณของพระองค์จะไปเสด็จรวมกับเทพเจ้าที่ปราสาทที่พระองค์สร้างไว้นั่นเอง เช่น พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ทรงสร้างปราสาทนครวัด อุทิศถวายแด่องค์พระวิษณุ เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ก็มีพระนามว่า บรมพิษณุโลก
จากเหตุผล 2 ข้อหลังนี้เองที่เป็นประเพณีที่กษัตริย์เขมรทุกพระองค์จะต้องสร้างปราสาทอย่างน้อยที่สุด 2 หลัง ส่วนรูปแบบของปราสาทขอมนั้นก็พัฒนารูปแบบมาจากศาสนสถานในประเทศอินเดีย ที่เรียกกันว่า ศิขร เป็นศาสนสถานของศิลปะอินเดียในภาคเหนือ และ วิมาน เป็นศาสนาสถานของอินเดียภาคใต้ นอกจากนี้ก็ยังได้รับอิทธิพลของ จันฑิ ศาสนาสถานในศิลปะชวาเมื่อครั้งที่อาณาจักรเจนฬาตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรชวา
ด้วยปัจจัยทั้งหมดนี้จึงก่อให้เกิดรูปแบบงานศิลปกรรมเขมรที่เรียกกันว่า ปราสาทขอม หรือ ศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ ที่มีความสวยงามและคุณค่าทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นอย่างยิ่ง และเนื่องด้วยปราสาทขอมเหล่านี้สร้างด้วยวัสดุที่เป็นอิฐ และศิลาแลง ซึ่งเป็นถาวรวัตถุจึงทำให้มีความคงทนจนถึงในปัจจุบัน
แต่ว่าปราสาทเขมร ก็มิได้มีเพียงในเขตแดนของประเทศกัมพูชาเท่านั้น ยังพบในบริเวณของประเทศลาวและประเทศไทยซึ่งมีปราสาทเขมรอยู่มากมายเช่นกัน เนื่องจากในบางช่วงที่อาณาจักรเขมรมีความเข้มแข็ง ทำให้สามารถขยายอำนาจและดินแดนได้อย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุนี้จึงมีปราสาทที่ถูกสร้างขึ้นในดินแดนของประเทศอื่นๆด้วย
รูปแบบศิลปะ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ก.สมัยก่อนเมืองพระนคร
1.ศิลปะแบบพนมดา ราว พ.ศ. 1100 – 1150
2.ศิลปะแบบสมโบร์ไพรกุก ราว พ.ศ. 1150 – 1200
3.ศิลปะแบบไพรกเมง ราว พ.ศ. 1180 – 1250
4.ศิลปะแบบกำพงพระ ราว พ.ศ. 1250 – 1350
ข.สมัยเมืองพระนคร
5.ศิลปะแบบกุเลน ราว พ.ศ. 1370 – 1420
6.ศิลปะแบบพระโค ราว พ.ศ. 1420 – 1440
7.ศิลปะแบบบาแค็ง ราว พ.ศ. 1440 – 1470
8.ศิลปะแบบเกาะแกร์ ราว พ.ศ. 1465 – 1490
9.ศิลปะแบบแปรรูป ราว พ.ศ. 1490 – 1510
10.ศิลปะแบบบันทายสรี ราว พ.ศ. 1510 – 1550
11.ศิลปะแบบคลัง (หรือเกลียง) ราว พ.ศ. 1550 – 1560
12.ศิลปะแบบบาปวน ราว พ.ศ. 1560 – 1630
13.ศิลปะแบบนครวัด ราว พ.ศ. 1650 – 1720
14.ศิลปะแบบบายน ราว พ.ศ. 1720 – 1780
อ้างอิง
- สโมสรศิลปวัฒนธรรม: การเสื่อมสลายของปราสาทขอมในดินแดนไทย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng prasathekhmr hrux prasathkhxm epnsasnsthaninsasnaphrahmn thisrangkhunodyxanackrekhmr tngaetphuththstwrrsthi 12 insmyphraecachywrmnthi 2 epntnma phbmakinpraethskmphucha aelainekhtkhxngpraethsithy prasathkhxmkxsrangdwywsduxith hinthray aelasilaaelng dwysilpaekhmr inpraethsithymiprasathkhxminthirabsungxisanthngsin 155 aehngidaek cnghwdnkhrrachsimacanwn 37 aehngaelw cnghwdburirmyxik 50 aehng cnghwdsurinthrmixyucanwn 31 aehng cnghwdchyphumi 6 aehng cnghwdrxyexd 14 aehng cnghwdsrisaeks 11 aehng aelacnghwdxublrachthanixik 6 aehng swnmakmkthukthalayehluxephiyngbangswnprawtisastrcakhlkthanthangobrankhdithaihthrabwachnchatiekhmrerimrwmtwepnxanackrhruxrth matngaetphuththstwrrsthi 6 odyphthnamacakemuxngthathitidtxkhakhaykbxinediy mikhwamecriyphayitphunthankhxngxarythrrmxinediy ichchuxwa xanackrfunn mixanabriewnkhrxbkhlumphunthilumaemnaokhng ewiydnamtxnit aelaaemnaokhngtxnit kmphucha cnthungbangswninbriewnkhxngphakhxisantxnitkhxngpraethsithy odymiemuxngxxkaekw tawnxxkechiyngitkhxngewiydnam epnemuxngthainkartidtxkhakhay aelamirachthaninamwa wyathpura iklekhabaphnminpraethskmphucha xanackrfunnmikartidtxkhakhaykbtangpraethsthngkbxinediyaelacin hlkthanthangobrankhdiekiywkbxanackrniyngdurangeluxnhakhxsrupimidaenchdnk thrabaetephiyngwakstriyxngkhsudthaykhux ruthrwrmn aelanbthuxsasnaphrahmnthiidrbmacakxinediyepnhlk phuththstwrrsthi 12 xanackrecnla sungaetedimepnrthhnungkhxngxanackrfunn mixanabriewntngaetemuxngcapaskdi phuekhawdphu inpccubnkhuxbriewnthangtxnitkhxngpraethslawaelathangphakhehnuxkhxngpraethskmphucha rachthanikhxngxanackrecnlakhux emuxng esrsthpura xanackrecnlamiphunthanxarythrrmsubtxmacakxanackrfunnrwmthngkarnbthuxsasnaphrahmndwy phraecaphwwrmn pthmkstriykhxngecnlaidyudwyathpuracakruthrwrmn txmaphraxnuchakhxngphwwrmnkhux phraecamehnthrwrmnthi 1 idekhayudfunnaelaprabpramid thaihxanackrecnlaidkhyayxanaekhtxxkipxyangkwangkhwangyingkwaedim cnlwngphuththstwrrsthi 13 xanackrecnlaidthukkstriychwacakrachwngsiselnthraehngxanackrchwaphakhklangrukran cungthaihecnlaaetkxxkepn 2 swnkhux ecnlabk aela ecnlanasungthukchwayudkhrxngid nxkcaknixanackrchwayngidnatwrchthayathkhux ecachaychywrmnthi 2 ipepntwpraknthixanackrchwaxikdwy sungepnrabbthieriykwatwcanaephuxrbrxngkhwamcngrkphkdikhxngxanackrekhmr txmainpi ph s 1350 chywrmnthi 2 idykthphkhunmaprakasexkrachcakxanackrchwa aelayngrwmxanackrecnlabkaelaecnlanathiaetkaeykekhadwykn srangkhwamepnpukaephnihkbxanackrekhmrihm aelakhnannamihmwa emuxngkmophchntawnxxk odyaeyktwmacakxanackrlowthyhruxlaow hruxpccubneriykwa lphburi phraecachywrmnthi 2 thrngtngrachthanikhxngemuxngkmophchninbriewnthangehnuxkhxngthaelsabekhmr phraxngkhthrngkhyayphrarachxanacekhaipthungbriewnlumaemnabriewnxisanitkhxngpraethsithyincnghwdnkhrrachsima chyphumi burirmy surinthraelasrisaekslththiethwrachaaelakarkxsrangprasathphraecachywrmnthi 2 thrngsthapnalththiethwracha khuxykthanakstriyihepnethphecahruxepnkstriysungsud epnkarpuphunthanrabbethwrachaihxanackrxunepnaebbxyang rwmthungsyamsungrbrabbnimaichdwyechnkn rabbethwrachanimiswnthaihphrahmnekhamamibthbathinrachsank inthanaphuechiywchaysilpsastrtang aelaprakxbphithirachaphieskihkbkstriy lththiethwrachahruxrabbethwracha tangcaklththiiswnikayaeliwsnphnikaykhux kxnhnannkstriyepnephiyngmnusythinbthuxethpheca aetlththirachannthuxwakstriyepnxnhnungxnediywkbethphecakhuxethphecaaebngphakhlngmacutiepnkstriynnexng emuxkstriyeswyrachyaelwtxngkratha 3 sing khux khudsrachlprathanhruxthieriykwa baray sungepnsaehtuhnungthithaihekhmrmikhwamyingihy ephraaenuxngcakekhmrkimniymtngthinthaniklaemnaethaidnk thiemuxngphrankhrmibaraykhnadihyhlaybaray echn barayxinthrtka kstriytxngsrangsasnsthanbnthanetiy xuthisthwaybrrphburus hruxprasathsrangbnthanetiyephiyngchnediyw echn thiphraecaxinthrwrmnthi 1 srangkhunephuxxuthisihkbbrrphburuskhxngphraxngkh txngsrangsasnsthanbnthanepnchn hruxprasathaebbykthanepnchnsunghlaychnephuxepnthisthitkhxngethpheca hakepnsasnaphrahmnlththiiswnikaycapradisthansiwlungkhkhxngsylksnaehngxngkhphraxiswr hruxsasnaphrahmnlththiiwsnphnikaykcapradisthanethwrupphrawisnu aelamikhwamechuxwaemuxkstriysinphrachnmwiyyankhxngphraxngkhcaipesdcrwmkbethphecathiprasaththiphraxngkhsrangiwnnexng echn phraecasuriywrmnthi 2 thrngsrangprasathnkhrwd xuthisthwayaedxngkhphrawisnu emuxphraxngkhsinphrachnmkmiphranamwa brmphisnuolk cakehtuphl 2 khxhlngniexngthiepnpraephnithikstriyekhmrthukphraxngkhcatxngsrangprasathxyangnxythisud 2 hlng swnrupaebbkhxngprasathkhxmnnkphthnarupaebbmacaksasnsthaninpraethsxinediy thieriykknwa sikhr epnsasnsthankhxngsilpaxinediyinphakhehnux aela wiman epnsasnasthankhxngxinediyphakhit nxkcaknikyngidrbxiththiphlkhxng cnthi sasnasthaninsilpachwaemuxkhrngthixanackrecnlatkepnemuxngkhunkhxngxanackrchwa dwypccythnghmdnicungkxihekidrupaebbngansilpkrrmekhmrthieriykknwa prasathkhxm hrux sasnsthaninsasnaphrahmn thimikhwamswyngamaelakhunkhathangprawtisastraelaobrankhdiepnxyangying aelaenuxngdwyprasathkhxmehlanisrangdwywsduthiepnxith aelasilaaelng sungepnthawrwtthucungthaihmikhwamkhngthncnthunginpccubn aetwaprasathekhmr kmiidmiephiynginekhtaednkhxngpraethskmphuchaethann yngphbinbriewnkhxngpraethslawaelapraethsithysungmiprasathekhmrxyumakmayechnkn enuxngcakinbangchwngthixanackrekhmrmikhwamekhmaekhng thaihsamarthkhyayxanacaeladinaednidxyangkwangkhwang dwyehtunicungmiprasaththithuksrangkhunindinaednkhxngpraethsxundwyrupaebbsilpaswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid k smykxnemuxngphrankhr 1 silpaaebbphnmda raw ph s 1100 1150 2 silpaaebbsmobriphrkuk raw ph s 1150 1200 3 silpaaebbiphrkemng raw ph s 1180 1250 4 silpaaebbkaphngphra raw ph s 1250 1350 kh smyemuxngphrankhr 5 silpaaebbkueln raw ph s 1370 1420 6 silpaaebbphraokh raw ph s 1420 1440 7 silpaaebbbaaekhng raw ph s 1440 1470 8 silpaaebbekaaaekr raw ph s 1465 1490 9 silpaaebbaeprrup raw ph s 1490 1510 10 silpaaebbbnthaysri raw ph s 1510 1550 11 silpaaebbkhlng hruxekliyng raw ph s 1550 1560 12 silpaaebbbapwn raw ph s 1560 1630 13 silpaaebbnkhrwd raw ph s 1650 1720 14 silpaaebbbayn raw ph s 1720 1780xangxingsomsrsilpwthnthrrm karesuxmslaykhxngprasathkhxmindinaednithy bthkhwamsthaptykrrm hruxxngkhprakxbthangsthaptykrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk