บ้านลอมกลาง อยู่ในจังหวัดน่าน
บ้านลอมกลาง | ||
---|---|---|
คือเมืองย่าง บนยอดดอยม่อนหลวง | ||
ที่ตั้ง | ทางหลวงแผ่นดิน 1170 หลักกิโลเมตรที่ 12 เขตบริการองค์การบริหารส่วนตำบลยม อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน รหัสไปรษณีย์ 55140 | |
แผนที่ | [1] | |
กลุ่มชาติพันธุ์ | ไทลื้อ | |
ภาษา | ไทลื้อ ,คำเมือง | |
จำนวนหลังคาเรือน | 97 หลังคาเรือน | |
จำนวนประชากร | 311 คน แยกเป็นชาย 147 คน หญิง 164 คน |
สภาพทางภูมิศาสตร์
บ้านลอมกลาง หมู่ 3 ตำบลยม อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน รหัสไปรษณีย์ 55140 เป็นชุมชนชองชาวไทลื้อ ที่อพยพมาจากเมืองเชียงลาบ (ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ อำเภอเชียงลาบ จังหวัดท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน ประเทศพม่า) บ้านลอมกลางตั้งอยู่ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลยม เนื้อที่ของหมู่บ้านจำนวน 2500 ไร่ จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 97 ครัวเรือน ตั้งอยู่บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1170 หลักกิโลเมตรที่ 12 (ถนนท่าวังผา-ศิลาเพชร) สภาพเป็นเนินภูเขา อยู่บริเวณกึ่งกลางระหว่างและ ทางด้านทิศเหนือเป็นภูเขาสูงโอบล้อมอยู่เป็นที่ตั้งของ และ จรดไปถึงลำน้ำหมู บ้านนานิคม และข้ามไปถึงทิศตะวันตกเฉียงใต้ จรดห้วยช้างสั่น บ้านป่ากลาง อ. และบ้านน้ำฮาว ทิศใต้เป็นเนินที่ราบเรียกว่า และโดยมีแม่น้ำย่างกั้นระหว่างบ้านเสี้ยวกับบ้านลอมกลาง ทางทิศเหนือห่างจากหมู่บ้าน 2 กม.เป็น ทิศตะวันตกเป็นเนินลงลำน้ำบั่วกั้นระหว่างกับบ้านลอมกลาง
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดกับบ้านนานิคม หมู่ 10 ต.ยม และบ้านป่ากลาง ต.ป่ากลาง อำเภอปัว
ทิศใต้ ติดกับบ้านเสี้ยว
ทิศตะวันออก ติดกับบ้านทุ่งฆ้อง และบ้านเชียงยืน
ทิศตะวันตก ติดกับบ้านสบบั่ว
ประวัติการก่อตั้งหมู่บ้าน
บ้านลอมกลาง หรือในอดีตมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บ้านน้ำบั่วป่ากล้วย เป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ของชาวไทลื้อ ที่อพยพมาจากเมืองเชียงลาบ ซึ่งตั้งชื่อขึ้นตามสภาพของภูมิศาสตร์คือเป็นที่ราบลุ่มลำน้ำบั่ว ซึ่งกำเนิดมาจากยอดดอยภูคาประกอบกับในพื้นที่ราบลุ่มดังกล่าวเต็มไปด้วยต้นกล้วยน้ำว้าเป็นจำนวนมาก ตามประวัติ พงศวดารน่าน และพื้นเมืองเชียงแสนจากจารึกวัดป่าสัก อ.เชียงแสนได้กล่าวไว้ว่า
ปี พ.ศ. 2101 ตรงกับสมัยเมืองเชียงใหม่ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า ส่วนหัวเมืองสิบสองปันนาตอนล่างนั้นพม่าสั่งให้เจ้าเมืองเชียงแขง (ตามจารึกพื้นเมืองเชียงแสน วัดป่าสัก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย เจ้าเมืองเชียงแขงก็คือเจ้าหลวงเชียงลาบนั่นเอง) รวบรวมหัวเมืองต่าง ๆ ซึ่งอยู่แถบชายแดนจีนทางสิบสองปันนาเข้าพม่า ได้แก่เมืองยอง เชียงลาบ บ้านยู้ เมืองหลวงตลอดจนถึงเมืองอูในลาวตอนบนให้ขึ้นไปกับเมืองเชียงแสน โดยเชียงลาบได้ถูกรวบเป็นหัวเมืองสำคัญทางทิศเหนือ
ในขณะที่ตำนานเมืองยอง ได้กล่าวถึงสมัยพระยาสุทโธธัมมราช กษัตริย์พม่าลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์ตองอูได้มอบหมายให้พระยาแสนสุรินทร์ทาพรหมราชเจ้าเมืองยองดูแลหัวเมืองต่างๆรวม 12 หัวเมืองได้แก่ เมืองยู้ เมืองหลวย เชียงแข เมืองวะ เมืองกาย เมืองเลน เมืองติน เมืองสาด เมืองพระยาก เมืองปะแลว เชียงลาบและเชียงทอง เมืองยองในสมันนี้จึงอยู่ศูนย์กลางในฐานะอำนาจย่อยของพม่าทางตะวันออก
ปี พ.ศ. 2347 กองทัพหลวงจากกรุงเทพ ฯ พร้อมด้วยกองทัพจากเชียงใหม่ นครลำปาง น่าน และเวียงจันทน์ ได้ยกไปตีเชียงแสน ตั้งล้อมอยู่สองเดือนจึงยึดเชียงแสนไว้ได้ เจ้ากาวิละสั่งให้รื้อกำแพงเมือง และทำลายเมืองไม่ให้ใช้เป็นที่มั่นของข้าศึกได้อีกต่อไป แล้วอพยพครอบครัวชาวเชียงแสนลงมาประมาณ ๒๐,๐๐๐ คน แบ่งออกเป็นห้าส่วน ส่งลงไปกรุงเทพ ฯ ส่วนหนึ่งซึ่งต่อมาได้ไปตั้งถิ่นฐานที่อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ที่เหลือส่งไปอยู่ที่เวียงจันทน์ น่าน เชียงใหม่ และนครลำปาง
ความดีความชอบในครั้งนี้ เจ้ากาวิละได้รับสถาปนาเป็น พระเจ้าเชียงใหม่ มีฐานะเป็นเจ้าประเทศราช หลังจากตีเมืองเชียงแสนได้แล้ว กองทัพของล้านนาไทย ประกอบด้วย เชียงใหม่ นครลำปาง แพร่ เมืองเถิน น่าน รวมทัพกองทัพจากล้านช้างได้แก่ หลวงพระบาง และเวียงจันทน์ได้ร่วมกันยกไปตีเมืองยอง เมืองลื้อ เมืองเขิน เมืองเชียงตุง เมืองเชียงรุ้ง เมืองเชียงแขง ตลอดจนบรรดาหัวเมืองต่าง ๆ แถบไทยใหญ่ ลื้อ เขิน เข้ามาเป็นข้าขอบขัณสีมาของกรุงรัตนโกสินทร์ ทำให้ราชอาณาจักรไทยแผ่ออกไปอย่างกว้างขวางใหญ่ไพศาล ยิ่งกว่าครั้งใด ๆ นับแต่นั้นมา หัวเมืองล้านนาไทยทั้งปวงก็ปลอดภัยจากการรุกรานของพม่า
นับแต่เมืองเชียงลาบ ไปสุดเมืองเชียงแขง เมืองล้า เมืองพง เมืองมาง เมืองภูคา เมืองเทิง เมืองเลน ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของเมืองน่าน ในฐานนะหัวเมืองขึ้น หลังจากเมืองน่านได้ปกครองหัวเมืองลื้อต่าง ๆ ดังจารึกบทหนึ่งกล่าวไว้ว่า
“...เจ้าผู้ครองนครเมืองน่านจัดการเขตแดน ทำสงครามยุทธนาการมีชัยจับตัวเจ้าเมืองเชียงแขง ณ ที่บ้านยู้ เมืองหลวย ได้กวาดคนครอบครัวลงมาไว้ยังนคร-เมืองน่าน...และยังได้กวาดครอบครัวในหัวเมืองขึ้นเมืองเชียงแขงที่ใกล้เคียง คือ เมืองแฮะ เมืองหลวย เมืองวะ เมืองขัน เมืองเชียงขาง เมืองสิง เมืองนัง เมืองกาง เมืองลอง เมือง-ลาบ มาไว้ที่เมืองน่านด้วย...”
ก่อตั้งหมู่บ้านนั้นเกิดเริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ 2345 ในครั้งนั้นเกิดวิกฤติ ยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง หลังจากสงครามในสิบสองปันนาสงบลง เจ้าอัตถวรปัญโญ ได้เดินทางกลับมาถึงเมืองน่าน ครั้นกลับมาถึงเมืองน่านได้เกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่ที่เมืองย่าง (ตำบลศิลาเพชร ในปัจจุบัน) และเมืองยม (ตำบลยม ตำบลจอมพระในปัจจุบัน)อีกทั้งผู้คนได้ล้มตายเป็นจำนวนมาก เมืองยมแทบไม่เหลือผู้คนอยู่ อีกทั้งแสนปั๋น เจ้าเมืองย่างได้เสียชีวิต ทำให้ตำแหน่งเจ้าเมืองย่าง ว่างลง ครั้นนั้นเจ้าอัตถวรปัญโญ เจ้าผู้ครองนครน่าน จึงได้เดินทางมาตรวจดูสถานการณ์น้ำท่วม และพิจารณาโปรดให้อพยพ ชาวไทลื้อที่ติดตามมาจากเมืองยอง เมืองเชียงลาบ เมืองเชียงแขง เมืองยู้ เข้ามาตั้งบ้านเรือนที่ริมแม่น้ำย่าง และแม่น้ำบั่ว เขตเมืองยม ส่วนของลูกหลานของพญาเชียงลาบ จำนวน 5 ครอบครัว ได้ขอตั้งบ้านเรือนบริเวณฝั่งทิศเหนือของลุ่มลำน้ำบั่วบริเวณใกล้กับวัดร้าง โดยทางการให้จัดการปกครองหมู่บ้านให้ขึ้นกับบ้านชึ่งเป็นชาวโดยมีพ่อแสนปัญญาชาวไทเขินเป็นผู้ปกครองชุมชนทำหน้าที่ปกครองหมู่บ้าน จำนวน 3 หมู่บ้าน แต่ในด้านศาสนกิจ นั้นชาวบ้านน้ำบั่วป่ากล้วยได้ปฏิบัติร่วมกับบ้านทุ่งฆ้องซึ่งเป็นชาวไทลื้อด้วยกันและมีวัดตั้งวัดอยู่บริเวณลุ่มน้ำย่าง โดยมีครูบาธรรมชัย เป็นผู้สร้าง และเป็นเจ้าอาวาส ส่วนพระประธานนั้นพระนางตุมมา (ปทุมมา)เป็นผู้สร้าง บริเวณฝั่งขวาที่เป็นเนินสูงนั้นที่ชาวบ้านเรียกว่าสันจ้าง (สันช้าง) มีพระธาตุเก่าแก่อยู่ เรียกว่าพระธาตุจอมพริก และมีต้นพริกสูงใหญ่ อายุหลายร้อยปี ปลูกทิ้งไว้ด้านข้างกับพระธาตุจอมพริก
ครั้นตั้งหมู่บ้านนั้น ชาวไทลื้อเมืองเชียงลาบล้วนแต่เป็นลูกหลานพญาเชียงลาบจึงได้อัญเชิญผีบรรพบุรุษ และผีเจ้าเมืองเชียงลาบ และผีนักรบต่าง ๆ ของเมืองเชียงลาบ ให้มาสถิตย์อยู่ที่ศาลประจำหมู่บ้านบริเวณฝั่งด้านตะวันออกเฉียงใต้ ของหมู่บ้านติดฝั่งลำน้ำบั่ว และมีพิธีบวงสรวงทุกเดือนสี่ เดือนแปด ตามปฏิทินไทลื้อ และในหมู่บ้านยังมีการทำพิธีทรงผีเจ้าหลวงเชียงลาบ ปัจจุบันพิธีกรรมบางส่วนได้สูญหายไปแล้ว
ราวปี 2490 จากคำบอกเล่าของแก่ในหมู่บ้านลักษณะของชุมชนบ้านน้ำบั่วป่ากล้วย ซึ่งตั้งบ้านเรือนริมสองฝั่งน้ำบั่ว ปัจจุบันคือบริเวณ สะพานน้ำบั่วทางไปบ้านนานิคม ทิศเหนือมีจำนวน 11 หลังคาเรือนติด ๆ กัน และทิศใต้ของน้ำบั่วมี 4-5 หลังคาเรือน รอบ ๆ หมู่บ้านมีแต่ป่า เต็มไปด้วยต้นไม้ใหญ่ และ ด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้าน ระหว่างบ้านน้ำบั่วป่ากล้วย กับบ้านเชียงยืน มีป่ากระท้อน และป่าขนุนเป็นจำนวนมาก อีกทั้งมีซากวัดร้าง สองถึงสามวัด ติด ๆ กัน บริเวณวัดร้างมีเครื่องเคลือบลายคราม และเครื่องปั้นดินเผาเป็นจำนวนมาก ปัจจุบันยังมีให้เห็นอยู่เป็นจำนวนมาก บริเวณสวนมะขามของพ่อหนานสมบุรณ์ คำแสน
ชุมชนบ้านน้ำบั่วป่ากล้วยในสมัยนั้นยังเป็นชุมชนสังคมแบบเครือญาติ โดยการปกครองแบบพ่อปกครองลูก เพราะในหมู่บ้านล้วนเกี่ยวพันด้านสายเลือดเดียวกันหมด โดยผู้ที่อาวุโสสูงสุดในหมู่บ้านจะเป็นผู้ปกครอง พึ่งพาตนเองเป็นหลัก นาน ๆ ถึงจะมีการติดต่อกับทางการสักที โดยผ่านหมู่บ้านเชียงยืน อีกทั้งในหมู่บ้านนั้นเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ทางการจึงมิได้แต่งตั้งใครในหมู่บ้านเป็นหัวหน้าในการปกครอง จนถึงสมัยของพ่อหนานประสงค์ สุยะตา จึงได้แต่งตั้งนายหนานเลิศ สุภาแก้ว เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเชียงยืน ทำหน้าที่ปกครองหมู่บ้านน้ำบั่วป่ากล้วย
ปี พ.ศ. 2500 นายสมบูรณ์ คำแสน ได้ไปเลี้ยงวัว บริเวณนาฮั้ง หัวบ้านสบบั่ว ได้เห็นรถของทางการได้ตัดถนนผ่าน จึงได้ไปสอบถาม และได้รับคำตอบว่า ทางการกำลังจะนำความเจริญมาสู่ที่นี่ จึงเกิดความคิดที่จะย้ายบ้านมาอยู่ที่นี่ และได้ตัดสินใจซื้อที่นาบริเวณนาลอมกลาง ซึ่งเป็นนาฮั้ง ทำนาไม่ได้ผลจากเจ้าของที่เดิมในราคา 50 บาท แล้วจึงย้ายบ้านจากบ้านน้ำบั่วป่ากล้วย ไปปลูกบ้านใหม่ในบริเวณดังกล่าวเพื่อปลูกผักปลูกไม้ไว้กิน
ปี พ.ศ. 2503 นายรัตน์ เขยตุ้ย ได้ย้ายบ้านจากบ้านน้ำบั่วป่ากล้วยตามมาอยู่ที่นาลอมกลางกับ หลังจากนั้นก็มี นายศรีนวล ขันทะตันตามมา
ปี พ.ศ. 2516 พ่อหลวงน้อยคำ ไชยปรุง ได้ซื้อที่ดินบริเวณนาลอมกลาง ได้เป็นจำนวนมาก จึงได้ย้ายบ้านจากบ้านน้ำบั่วป่ากล้วยมาตั้งที่นาลอมกลางในตอนสาย พร้อมกับประกาศบอกลูกหลานทั้งหมู่บ้านน้ำบั่วป่ากล้วยทุกหลังคาเรือนย้ายให้ย้ายบ้านเรือน ไปตั้งหมู่บ้านใหม่ที่นาลอมกลางโดยจะจัดสรรที่ดินให้ลูกหลานทุกหลังคาเรือน ในครั้งนั้นชาวบ้านให้นายสมบูรณ์ คำแสนเป็นหัวหน้าปกครองหมู่บ้านลอมกลาง
ปี พ.ศ. 2522 สมัยของ นายพยูร มีทองคำ เป็นนายอำเภอท่าวังผา ได้แจ้งประกาศจากทางราชการ ให้ตั้งหมู่บ้านลอมกลาง แยกออกจาหมู่บ้านเชียงยืนโดยให้มีผู้ใหญ่บ้านปกครองหมู่บ้านได้โดยตรง ในครั้งนั้นชาวบ้านลอมกลางได้ยกมือเลือกคือ นายสายคำ เขยตุ้ย เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก
ปี พ.ศ. 2526 สมัยนายวิเชียร ไชยปรุง ชาวบ้านลอมกลางทะเลาะกับบ้านทุ่งฆ้อง จึงประกาศขอแยกวัดทุ่งฆ้อง มาสร้างวัดใหม่ในสวนมะม่วง ของพ่อหลวงน้อยคำ ไชยปรุง พร้อมกับนิมนต์สามเณรที่เป็นลูกหลานคนในหมู่บ้านลอมกลาง ให้ย้ายมาอยู่อารามชั่วคราวบ้านลอมกลาง โดยสร้างเป็นอารามชั่วคราว ชื่อว่า อารามลอมกลาง โดย มีหลวงพ่อผัด ขฺนติพโล เป็นเจ้าอารามรูปแรก
ปี พ.ศ. 2535 สมัยนายอินปั๋น เขยตุ้ย ชาวบ้านลอมกลางได้ร่วมกันสร้างพระประธาน โดยใช้ช่างปั้นจากบ้านพร้าว ต.ยม และได้รับความอุปถัมป์จากหลวงพ่อศรีลัย อภากโร วัดถ้ำผาหลัก ต.ยอด กิ่ง อ. สองแคว จ.น่าน เป็นเรี่ยวแรงสำคัญในการกระทำพิธี โดยใช้เงินหมันมาทำเป็นหัวใจและเครื่องในต่าง ๆ ตามคติความเชื่อของชาวไทลื้อเพื่อบรรจุในพระพุทธรูป อีกทั้งบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ จำนวน 3 องค์
ปี พ.ศ. 2536 ทำพิธีบวชพระเจ้า (พิธีพุทธาภิเษกพระประธาน) (วันที่ 25-28 เมษายน)พราหมณ์(หมอสู่ขวัญพระเจ้า) ได้ทำพิธีบายสีสู่ขวัญพระเจ้าหลวงเพื่อทำพิธีสู่ขวัญนาคพระพุทธรูป หลังจากนั้นหลวงพ่อพระครูนันทกิจโสภณ (พระครูไปล่) วัดเชียงยืน หลวงพ่อศรีลัย อภากรโร วัดถ้ำผาหลัก หลวงพ่ออินเหรียญ จริยธฺมโม พร้อมกับพระสงฆ์ 9 รูป บวชเณรพระพุทธรูป และทำพิธีอุปสมบทพระพุทธรูป และทำพิธีเบิกเนตรและพุทธาภิเษก สวดมงคลคาถาตลอดสามวันสามคืน และทำพิธีพุทธาพิเษกต้นศรีมหาโพธิ์ภาย อีกทั้งมีคณะแม่ชี จากวัดถ้ำผาหลักมาช่วยงานกวนข้าวทิพย์และงานพุทธาภิเศก ในงานครั้งนี้ถือว่าเป็นความสัมพันธ์อันดีระหว่างชาวบ้านลอมกลาง และชาวบ้านถ้ำผาหลัก โดยมีหลวงพ่อศรีลัย อภากโร เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทลื้อทั้งสองหมู่บ้าน
รายนามลำดับผู้ปกครองชุมชน
- การปกครองสมัยบ้านเชียงยืน
1. พ่อแสนปัญญา ชาวไทเขินบ้านเชียงยืน
2. พ่อแสนหลวงนัยธรรม (พ.ศ. 2395)
3. หลวงสุริยะ (พ.ศ. 2420)
4. พ่อหนานอิ่นเมือง (พ.ศ. 2450)
5. พ่อหนานบุญสงค์ สุยะตา (พ.ศ. 2474) สมัยพ่อบุญสงค์เป็นผู้ปกครองมีหมู่บ้านอยู่สามหมู่บ้าน คือน้ำบั่ววัด น้ำบั่วใต้ และน้ำบั่วป่ากล้วย อยู่ต่อมาบ้านน้ำบั่วใต้ก็ยุบไป แล้วมีหมู่บ้านเกิดขึ้นแถมบ้านหนึ่ง คือบ้านหนองเตา สามหมู่บ้านนี้อยู่ในเขตการดูแลของพ่อบุญสงค์ทั้งหมด สมัยนี้นายเลิศ สุภาแก้ว ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ทำหน้าที่ปกครองบ้านน้ำบั่วป่ากล้วยและติดต่อราชการกับบ้านเชียงยืน
6.พ่อน้อยคำ เมฆยะ (พ.ศ. 2505 ) สมัยพ่อน้อยคำเป็นผู้ใหญ่ก็มีการแบ่งหมู่บ้าน ทางราชการกำหนดให้ บ้านน้ำบั่วป่ากล้วย แยกการปกครองเป็นอีก 1 หมู่บ้านโดยตั้งพ่อหนานสายคำ เขยตุ้ย เป็นหัวหน้าหมู่บ้าน
- บ้านลอมกลาง
1. พ่อหลวงหนานสายคำ เขยตุ้ย
2. พ่อหลวงหนานสมบูรณ์ คำแสน
3. พ่อหลวงน้อยคำ ไชยปรุง
4. พ่อหนานอินวาท อิผัด
หลังนั้นบ้านลอมกลางก็มีผู้ปกครองหมู่บ้านตามที่ทางราชการแต่งตั้งมาเรื่อย ๆ จนมาถึง ปี พ.ศ. 2526 สมัยของ นายวิเชียร ไชยปรุง ชาวบ้านลอมกลางเกิดความขัดแย้งในการปฏิบัติพุทธศาสนากับหมู่บ้านทุ่งฆ้อง ครั้งนั้นชาวบ้านจึงได้มีมติขอแยกวัดทุ่งฆ้องมาตั้งวัดขึ้นมาใหม่ ครั้งนั้นพ่อหลวงน้อยคำ และแม่หลวงขันคำ ไชยปรุง จึงได้บริจาคสวนมะม่วง เพื่อตั้งวัดลอมกลาง อีกทั้งสองเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการสร้างศาสนสถานขึ้นในชุมชน
ภาษา ศาสนาและความเชื่อ
สำเนียงภาษาลื้อ
สำเนียงภาษาชาวลื้อเมืองเชียงลาบ เป็นสำเนียงภาษาเดียวกับภาษาเชียงรุ่ง เหมือนกับภาษาชาวไทยอง (ลื้อเมืองยอง) ตัวอักษรของชาวไทลื้อคล้ายกับภาษาของชาวไทเขิน ซึ่งต่างจากอักษรล้านนา ชาวไทลื้อเมืองเชียงลาบนับถือพุทธศาสนา และนับถือผีบรรพบุรุษและผีต่าง ๆ
การนับถือพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา นับถือนิกายเถรวาท ประยุกต์เข้ากับวัฒนธรรมชาวเชียงลาบ การยอมรับนับถือพุทธศาสนานั้นชาวเชียงลาบได้รับการเผยแพร่มาจากเชียงแสน และพม่า
การนับถือผี
ข้อห้ามสำหรับแขก หรือบุคคลที่ไม่ได้นับถือบรรพบุรุษเดียวกันคือ ห้ามบุคคลที่นับถือผีต่างกันหรือแขกที่มาเยี่ยมเข้าไปห้องนอนของเจ้าบ้านโดยเด็ดขาด เพราะห้องนอนจะเป็นที่สถิตย์ของผีครูและผีเรือน
- ผีเจ้าเมือง คือผีเจ้าหลวงเชียงลาบ และพระมหาเทวีเจ้า และนักรบโบราณต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ดูแลปกปักรักษาบ้าน เมือง เสื้อเมือง ซึ่งผู้ทำหน้าที่ติดต่อผีเรียกว่า เข้าจ้ำ ซึ่งจะเป็นผู้ชาย และจะต้องทำพิธีบวงสรวงด้วยหมูสีดำสนิท และต้องเป็นตัวที่ไม่มีที่ติ ถูกต้องตามลักษณะ ตามตำราของหมอผี การบวงสรวงจะกระทำปีละสองครั้ง คือเดือนสี่และเดือนแปด ตามปฏิทินไทลื้อ หากมีเหตุการณ์ไม่ปกติ ต้องบวงสรวงด้วยวัว ควาย หมู เป็ด ไก่
ข้อห้ามคือ ห้ามผู้หญิงเข้าเขตบวงสรวง นี้โดยเด็ดขาด
- ผีเรือน ซึ่งมีทั้งผีเรือนฝ่ายพ่อ และฝ่ายแม่ การสืบผีนั้นผู้หญิงจะทำหน้าที่สืบผีเรือน คือต้องทำหน้าที่ต่อกับผีเซ่นไหว้ไม่ให้ขาด การบวงสรวงผีเรือนจะกระทำหลังจากบวงสรวงผีเจ้าเมือง การบวงสรวงจะบวงสรวงด้วยไก่สีดำ และไข่ไก่ ฝ้าย เทียนเหลือง หรือขี้ผึ้ง ผู้หญิงจะเป็นคนกระทำ
- ผีเตาไฟ และผีหม้อนึ้ง มีหน้าที่ดูแลรักษาบ้านเรือนไม่ให้เกิดไฟไหม้ และอาหารเป็นพิษ อันจะทำให้เกิดโรคภัยต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ตรวจตราว่าเกิดสิ่งร้ายอันใดขึ้นกับบุคคลในครอบครัวและผู้อื่น กล่าวคือ เมื่อมีคนไม่สบายในบ้านเรือน เข้าจ้ำจะทำพิธีหาสาเหตุโดยเสี่ยงทายจากหม้อนึ้ง
- การทรงผีหม้อนึ้ง ผู้ทำหน้าที่ต้องเป็นผู้หญิงเท่านั้นและจะต้องสืบทางสายเลือด เมื่อมีการทรงนั้นจะนำน้ำเต้าและไหข้าวมาผูกกับไม้คานให้เป็นรูปคน เขียนหูเขียนตา จมูก ใส่เสื้อผ้า แล้วนำข้าวสารใส่กระด้ง ก่อนการทรงผีนั้นจะให้ชาวบ้านพิสูจน์ก่อนคือให้ลองยกไหข้าวก่อนว่าน้ำหนักเบา เมื่อมีการทรงแล้วไหข้าวจะมีน้ำหนักมาก จนต้องใช้คนถึงสองคนช่วยกันยก ไปบริเวณพิธีที่มีกระด้งอยู่ เมื่อไปถึงกระด้งผีหม้อนึ่งจะเขียนตัวหนังสือเป็นภาษาไทลื้อ ซึ่งจะมีล่ามคือคนแก่อ่านให้ฟัง หรือใครที่อ่านออกก้ออ่านได้เลย จากนั้นก้อจะทำพิธีเสี่ยงทายเรื่องต่าง ๆ แล้วแต่ใครอยากรู้เรื่องอะไร แต่ส่วนใหญ่ถามเรื่องอาการเจ็บป่วย หากคนเจ็บป่วยนั้นจะต้องตายแน่ ๆ ผีหม้อนึ้งจะวาดเป็นรูปโลงศพ แล้วโกยข้าวสารกลบรูปโลงศพ ซึ่งการเสี่ยงทายนั้นจะตรงกับความจริงเสมอ (การทำพิธีนี้นาน ๆ อาจสิบปีจะมีสักครั้งหรือสองครั้ง)
- ผีก๊ะผีห่า คือผีไม่มีญาติ หรือสังภเวสีต่าง ๆ ที่คอยมารังควานทำร้ายชาวบ้าน เมื่อเจ็บป่วยหมอจะทำพิธีเสี่ยงทายและจะให้นำของไปเซ่นไหว้ ตามที่ผลเสี่ยงทายออกมา
- ผีครู คือผีครูบาอาจารย์ ซึ่งมีหน้าที่ปกปักรักษาศิษย์ ผู้เรียนคาถาเวทมนตร์ต่าง ๆ
ความเชื่อเรื่องอื่น ๆ
- ห้ามต้มไข่ ลาบเป็ด แกงหอย เลี้ยงแขกหรือผู้มาเยือน กรณี แขกมาบ้านแล้วถูกเจ้าบ้านต้มไข่ให้กิน แสดงว่า เจ้าบ้านไม่ชอบแขกคนนั้น หรือ แสดงถึงการขับไล่แขกออกจากบ้าน
- ห้ามวางไม้กวาด หน้าบันไดบ้าน หรือห้ามกวาดบ้านตอนแขกเข้าบ้าน ถ้ากวาดบ้านแสดงว่าไม่ต้องการให้แขกเข้าบ้าน
- ห้ามหญิงชาย (วัยหนุ่มสาว) ที่ยังไม่แต่งงานถูกเนื้อต้องตัว หรือ อยู่ด้วยกันก่อนแต่งงาน หรือก่อนทำพิธีไขว่ผีประจำตระกูล
- ห้ามตัดต้นไม้ใหญ่ หรือเอาต้นไม้จากป่าช้า หรือบริเวณหอผี เข้ามาในหมู่บ้าน
- วันเสียผี (วันเผาศพคนในหมู่บ้าน)ห้ามขนไม้ หรือสิ่งของเข้ามาในหมู่บ้านโดยเด็ดขาด
- ห้ามตากผ้าถุง รองเท้า ไว้ที่สูงกว่าศีรษะ
- ห้ามผู้ญิงมีประจำเดือนเข้าวัด
- ห้ามผู้หญิง เข้าเขตพัทสีมา หรือเขตสงฆ์ สถูป เจดีย์ หรือกุฏิพระสงฆ์
ประเพณีของชาวลื้อเมืองเชียงลาบ
- ป๋างสี่ป๋างแปด ตรงกับเดือนสี่ และเดือนแปด ตามปฏิทินไทลื้อ คือพิธีบวชสรวงดวงวิญญาณของเจ้าหลวงเชียงลาบ และพระนางมหาเตวีเจ้า และเหล่าดวงวิญญานักรบโบราณ เสื้อบ้าน เสื้อเมืองเชียงลาบ ซึ่งจะจัดขึ้นทุกปี ในช่วงเดือนสี่ และเดือนแปด ของชาวไทลื้อ (เป็นประเพณีที่ต้องทำทุกปี ห้ามเว้นโดยเด็ดขาด)
- จิ๊ก๋องโหล คือ ประเพณีถวายอัคคีพุทธบูชา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองของไทย หรือวันยี่เป็งของล้านนา แต่ในเดือนของชาวไทลื้อ คือ เดือนเจ๋งเป็ง หรือ "เก๋งเป็ง" หมายถึงเดือนหนึ่งหรือเดือนอ้ายขึ้นสิบห้าค่ำ นั่นเองซึ่งเป็นประเพณีที่สืบทอดมานับแต่สมัยอยู่เมืองเชียงลาบ ซึ่งว่างเว้นหรือไม่จัดไม่ได้เด็ดขาด กล่าวคือในวันดังกล่าวจะมีพิธีแป๋งเข่าลดเค๊าะ และพิธีตักบาตรในตอนเช้าตอนสายฟังธรรม จนถึงสองทุ่มจึงทำพิธีเผาไม้ง่ามหรือไม้ก้ำสลี
- การทำไม้ค้ำสลี สำหรับถวายทานนี้ฝ่ายผู้ชายต้องไปหาไม้ง่ามในป่ามาปอกเปลือกให้หมด ไม้ที่นิยมคือไม้เป้า หาให้มีจำนวนครบกับคนในครอบครัว และบวกเพิ่มอีก 1-2 ท่อน แล้วจารึกชื่อ และอักษรธรรมภาษาไทลื้อลงไปในไม้แต่ละท่อน จากนั้นนำไม้ไปสุมเป็นกองหน้าวิหารวัด แล้วนำด้ายพันรอบไม้ค้ำสลี ก่อนจุดพระจะเป็นคนสวดนำทางเวียนเทียนสามรอบ เมื่อครบสามรอบแล้วจึงนำเทียนนั้นจุดไฟเผาไม้ เมื่อไฟไหม้ไม้ ทุกคนจะอธิษฐานของให้เคราะห์ทุกอย่างที่จะเกิดขึ้นกับตัว และอริศัตรูต่าง ๆ นั้นมอดไหม้ไปกับไฟนี้อย่าให้มีเหลือ ขอให้ชีวิตรุ่งเรืองเหมือนกับไฟที่ลุกสว่างขึ้นเรื่อย ๆ
- ประเพณีปี๋ใหม่ ตรงกับเดือนหกของชาวไทลื้อ คือวันสงกรานต์ของไทย พิธีที่ต่างกันจากชาวล้านนาทั่วไปคือ ชาวลื้อจะมีการฉลองโดยการทำพิธีบายสีสู่ขวัญคนเฒ่าคนแก่ทุกคน และจะต้องทำให้ครบทุกคนในหมู่บ้าน และทุกบ้านหากมีผู้สูงอายุต้องทำพิธี และต้องเชิญชาวบ้านมาร่วมงาน และจะมีการฆ่าไก่ เพื่อมาต้มสู่ขวัญและ นำมาเลี้ยงแขกทุกคนในบ้าน และต้องเลี้ยงจนแขกคนสุดท้ายกลับ
อาชีพ
1. ทำนา-ทำไร่
2. สวนพริก
3. การผลิตกระดาษสา และผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา
อ้างอิง
- พื้นเมืองเชียงแสน วัดป่าสัก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
- ประวัติชาวไทลื้อ บ้านลอมกลาง ต.ยม อ.ท่าวังผา จ.น่าน
- ประวัติความเป็นมาของตำบลศิลาเพชร ต.ศิลาเพชร อ.ปัว จ.น่าน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
banlxmklang xyuincnghwdnan banlxmklangkhuxemuxngyang bnyxddxymxnhlwngthitng thanghlwngaephndin 1170 hlkkiolemtrthi 12 ekhtbrikarxngkhkarbriharswntablym xaephxthawngpha cnghwdnan rhsiprsniy 55140aephnthi 1 klumchatiphnthu ithluxphasa ithlux khaemuxngcanwnhlngkhaeruxn 97 hlngkhaeruxncanwnprachakr 311 khn aeykepnchay 147 khn hying 164 khnsphaphthangphumisastrbanlxmklang hmu 3 tablym xaephxthawngpha cnghwdnan rhsiprsniy 55140 epnchumchnchxngchawithlux thixphyphmacakemuxngechiynglab pccubntngxyuthi xaephxechiynglab cnghwdthakhiehlk rthchan praethsphma banlxmklangtngxyuinekhtphunthixngkhkarbriharswntablym enuxthikhxnghmubancanwn 2500 ir canwnkhrweruxnthnghmd 97 khrweruxn tngxyubnthanghlwngaephndinhmayelkh 1170 hlkkiolemtrthi 12 thnnthawngpha silaephchr sphaphepneninphuekha xyubriewnkungklangrahwangaela thangdanthisehnuxepnphuekhasungoxblxmxyuepnthitngkhxng aela crdipthunglanahmu bannanikhm aelakhamipthungthistawntkechiyngit crdhwychangsn banpaklang x aelabannahaw thisitepneninthiraberiykwa aelaodymiaemnayangknrahwangbanesiywkbbanlxmklang thangthisehnuxhangcakhmuban 2 km epn thistawntkepneninlnglanabwknrahwangkbbanlxmklangxanaekhtthisehnux tidkbbannanikhm hmu 10 t ym aelabanpaklang t paklang xaephxpw thisit tidkbbanesiyw thistawnxxk tidkbbanthungkhxng aelabanechiyngyun thistawntk tidkbbansbbwprawtikarkxtnghmubanbanlxmklang hruxinxditmichuxeriykxikxyanghnungwa bannabwpaklwy epnhmubanelk khxngchawithlux thixphyphmacakemuxngechiynglab sungtngchuxkhuntamsphaphkhxngphumisastrkhuxepnthirablumlanabw sungkaenidmacakyxddxyphukhaprakxbkbinphunthirablumdngklawetmipdwytnklwynawaepncanwnmak tamprawti phngswdarnan aelaphunemuxngechiyngaesncakcarukwdpask x echiyngaesnidklawiwwa pi ph s 2101 trngkbsmyemuxngechiyngihmtkepnemuxngkhunkhxngphma swnhwemuxngsibsxngpnnatxnlangnnphmasngihecaemuxngechiyngaekhng tamcarukphunemuxngechiyngaesn wdpask x echiyngaesn c echiyngray ecaemuxngechiyngaekhngkkhuxecahlwngechiynglabnnexng rwbrwmhwemuxngtang sungxyuaethbchayaedncinthangsibsxngpnnaekhaphma idaekemuxngyxng echiynglab banyu emuxnghlwngtlxdcnthungemuxngxuinlawtxnbnihkhunipkbemuxngechiyngaesn odyechiynglabidthukrwbepnhwemuxngsakhythangthisehnux inkhnathitananemuxngyxng idklawthungsmyphrayasuthoththmmrach kstriyphmaladbthi 5 aehngrachwngstxngxuidmxbhmayihphrayaaesnsurinthrthaphrhmrachecaemuxngyxngduaelhwemuxngtangrwm 12 hwemuxngidaek emuxngyu emuxnghlwy echiyngaekh emuxngwa emuxngkay emuxngeln emuxngtin emuxngsad emuxngphrayak emuxngpaaelw echiynglabaelaechiyngthxng emuxngyxnginsmnnicungxyusunyklanginthanaxanacyxykhxngphmathangtawnxxk pi ph s 2347 kxngthphhlwngcakkrungethph phrxmdwykxngthphcakechiyngihm nkhrlapang nan aelaewiyngcnthn idykiptiechiyngaesn tnglxmxyusxngeduxncungyudechiyngaesniwid ecakawilasngihruxkaaephngemuxng aelathalayemuxngimihichepnthimnkhxngkhasukidxiktxip aelwxphyphkhrxbkhrwchawechiyngaesnlngmapraman 20 000 khn aebngxxkepnhaswn snglngipkrungethph swnhnungsungtxmaidiptngthinthanthixaephxesaih cnghwdsraburi thiehluxsngipxyuthiewiyngcnthn nan echiyngihm aelankhrlapang khwamdikhwamchxbinkhrngni ecakawilaidrbsthapnaepn phraecaechiyngihm mithanaepnecapraethsrach hlngcaktiemuxngechiyngaesnidaelw kxngthphkhxnglannaithy prakxbdwy echiyngihm nkhrlapang aephr emuxngethin nan rwmthphkxngthphcaklanchangidaek hlwngphrabang aelaewiyngcnthnidrwmknykiptiemuxngyxng emuxnglux emuxngekhin emuxngechiyngtung emuxngechiyngrung emuxngechiyngaekhng tlxdcnbrrdahwemuxngtang aethbithyihy lux ekhin ekhamaepnkhakhxbkhnsimakhxngkrungrtnoksinthr thaihrachxanackrithyaephxxkipxyangkwangkhwangihyiphsal yingkwakhrngid nbaetnnma hwemuxnglannaithythngpwngkplxdphycakkarrukrankhxngphma nbaetemuxngechiynglab ipsudemuxngechiyngaekhng emuxngla emuxngphng emuxngmang emuxngphukha emuxngething emuxngeln thukphnwkepnswnhnungkhxngemuxngnan inthannahwemuxngkhun hlngcakemuxngnanidpkkhrxnghwemuxngluxtang dngcarukbthhnungklawiwwa ecaphukhrxngnkhremuxngnancdkarekhtaedn thasngkhramyuththnakarmichycbtwecaemuxngechiyngaekhng n thibanyu emuxnghlwy idkwadkhnkhrxbkhrwlngmaiwyngnkhr emuxngnan aelayngidkwadkhrxbkhrwinhwemuxngkhunemuxngechiyngaekhngthiiklekhiyng khux emuxngaeha emuxnghlwy emuxngwa emuxngkhn emuxngechiyngkhang emuxngsing emuxngnng emuxngkang emuxnglxng emuxng lab maiwthiemuxngnandwy kxtnghmubannnekiderimkxtngemuxpi ph s 2345 inkhrngnnekidwikvti yukhekbphkissaekbkhaisemuxng hlngcaksngkhraminsibsxngpnnasngblng ecaxtthwrpyoy idedinthangklbmathungemuxngnan khrnklbmathungemuxngnanidekidnathwmkhrngihythiemuxngyang tablsilaephchr inpccubn aelaemuxngym tablym tablcxmphrainpccubn xikthngphukhnidlmtayepncanwnmak emuxngymaethbimehluxphukhnxyu xikthngaesnpn ecaemuxngyangidesiychiwit thaihtaaehnngecaemuxngyang wanglng khrnnnecaxtthwrpyoy ecaphukhrxngnkhrnan cungidedinthangmatrwcdusthankarnnathwm aelaphicarnaoprdihxphyph chawithluxthitidtammacakemuxngyxng emuxngechiynglab emuxngechiyngaekhng emuxngyu ekhamatngbaneruxnthirimaemnayang aelaaemnabw ekhtemuxngym swnkhxnglukhlankhxngphyaechiynglab canwn 5 khrxbkhrw idkhxtngbaneruxnbriewnfngthisehnuxkhxnglumlanabwbriewniklkbwdrang odythangkarihcdkarpkkhrxnghmubanihkhunkbbanchungepnchawodymiphxaesnpyyachawithekhinepnphupkkhrxngchumchnthahnathipkkhrxnghmuban canwn 3 hmuban aetindansasnkic nnchawbannabwpaklwyidptibtirwmkbbanthungkhxngsungepnchawithluxdwyknaelamiwdtngwdxyubriewnlumnayang odymikhrubathrrmchy epnphusrang aelaepnecaxawas swnphraprathannnphranangtumma pthumma epnphusrang briewnfngkhwathiepneninsungnnthichawbaneriykwasncang snchang miphrathatuekaaekxyu eriykwaphrathatucxmphrik aelamitnphriksungihy xayuhlayrxypi plukthingiwdankhangkbphrathatucxmphrik khrntnghmubannn chawithluxemuxngechiynglablwnaetepnlukhlanphyaechiynglabcungidxyechiyphibrrphburus aelaphiecaemuxngechiynglab aelaphinkrbtang khxngemuxngechiynglab ihmasthityxyuthisalpracahmubanbriewnfngdantawnxxkechiyngit khxnghmubantidfnglanabw aelamiphithibwngsrwngthukeduxnsi eduxnaepd tamptithinithlux aelainhmubanyngmikarthaphithithrngphiecahlwngechiynglab pccubnphithikrrmbangswnidsuyhayipaelw rawpi 2490 cakkhabxkelakhxngaekinhmubanlksnakhxngchumchnbannabwpaklwy sungtngbaneruxnrimsxngfngnabw pccubnkhuxbriewn saphannabwthangipbannanikhm thisehnuxmicanwn 11 hlngkhaeruxntid kn aelathisitkhxngnabwmi 4 5 hlngkhaeruxn rxb hmubanmiaetpa etmipdwytnimihy aela danthistawnxxkkhxnghmuban rahwangbannabwpaklwy kbbanechiyngyun mipakrathxn aelapakhnunepncanwnmak xikthngmisakwdrang sxngthungsamwd tid kn briewnwdrangmiekhruxngekhluxblaykhram aelaekhruxngpndinephaepncanwnmak pccubnyngmiihehnxyuepncanwnmak briewnswnmakhamkhxngphxhnansmburn khaaesn chumchnbannabwpaklwyinsmynnyngepnchumchnsngkhmaebbekhruxyati odykarpkkhrxngaebbphxpkkhrxngluk ephraainhmubanlwnekiywphndansayeluxdediywknhmd odyphuthixawuossungsudinhmubancaepnphupkkhrxng phungphatnexngepnhlk nan thungcamikartidtxkbthangkarskthi odyphanhmubanechiyngyun xikthnginhmubannnepnhmubanelk thangkarcungmiidaetngtngikhrinhmubanepnhwhnainkarpkkhrxng cnthungsmykhxngphxhnanprasngkh suyata cungidaetngtngnayhnanelis suphaaekw epnphuchwyphuihybanechiyngyun thahnathipkkhrxnghmubannabwpaklwy pi ph s 2500 naysmburn khaaesn idipeliyngww briewnnahng hwbansbbw idehnrthkhxngthangkaridtdthnnphan cungidipsxbtham aelaidrbkhatxbwa thangkarkalngcanakhwamecriymasuthini cungekidkhwamkhidthicayaybanmaxyuthini aelaidtdsinicsuxthinabriewnnalxmklang sungepnnahng thanaimidphlcakecakhxngthiediminrakha 50 bath aelwcungyaybancakbannabwpaklwy ipplukbanihminbriewndngklawephuxplukphkplukimiwkin pi ph s 2503 nayrtn ekhytuy idyaybancakbannabwpaklwytammaxyuthinalxmklangkb hlngcaknnkmi naysrinwl khnthatntamma pi ph s 2516 phxhlwngnxykha ichyprung idsuxthidinbriewnnalxmklang idepncanwnmak cungidyaybancakbannabwpaklwymatngthinalxmklangintxnsay phrxmkbprakasbxklukhlanthnghmubannabwpaklwythukhlngkhaeruxnyayihyaybaneruxn iptnghmubanihmthinalxmklangodycacdsrrthidinihlukhlanthukhlngkhaeruxn inkhrngnnchawbanihnaysmburn khaaesnepnhwhnapkkhrxnghmubanlxmklang pi ph s 2522 smykhxng nayphyur mithxngkha epnnayxaephxthawngpha idaecngprakascakthangrachkar ihtnghmubanlxmklang aeykxxkcahmubanechiyngyunodyihmiphuihybanpkkhrxnghmubanidodytrng inkhrngnnchawbanlxmklangidykmuxeluxkkhux naysaykha ekhytuy epnphuihybankhnaerk pi ph s 2526 smynaywiechiyr ichyprung chawbanlxmklangthaelaakbbanthungkhxng cungprakaskhxaeykwdthungkhxng masrangwdihminswnmamwng khxngphxhlwngnxykha ichyprung phrxmkbnimntsamenrthiepnlukhlankhninhmubanlxmklang ihyaymaxyuxaramchwkhrawbanlxmklang odysrangepnxaramchwkhraw chuxwa xaramlxmklang ody mihlwngphxphd kh ntiphol epnecaxaramrupaerk pi ph s 2535 smynayxinpn ekhytuy chawbanlxmklangidrwmknsrangphraprathan odyichchangpncakbanphraw t ym aelaidrbkhwamxupthmpcakhlwngphxsrily xphakor wdthaphahlk t yxd king x sxngaekhw c nan epneriywaerngsakhyinkarkrathaphithi odyichenginhmnmathaepnhwicaelaekhruxngintang tamkhtikhwamechuxkhxngchawithluxephuxbrrcuinphraphuththrup xikthngbrrcuphrabrmsaririkthatu canwn 3 xngkh pi ph s 2536 thaphithibwchphraeca phithiphuththaphieskphraprathan wnthi 25 28 emsayn phrahmn hmxsukhwyphraeca idthaphithibaysisukhwyphraecahlwngephuxthaphithisukhwynakhphraphuththrup hlngcaknnhlwngphxphrakhrunnthkicosphn phrakhruipl wdechiyngyun hlwngphxsrily xphakror wdthaphahlk hlwngphxxinehriyy criyth mom phrxmkbphrasngkh 9 rup bwchenrphraphuththrup aelathaphithixupsmbthphraphuththrup aelathaphithiebikentraelaphuththaphiesk swdmngkhlkhathatlxdsamwnsamkhun aelathaphithiphuththaphiesktnsrimhaophthiphay xikthngmikhnaaemchi cakwdthaphahlkmachwyngankwnkhawthiphyaelanganphuththaphiesk inngankhrngnithuxwaepnkhwamsmphnthxndirahwangchawbanlxmklang aelachawbanthaphahlk odymihlwngphxsrily xphakor epnsunyrwmcitickhxngchawithluxthngsxnghmubanraynamladbphupkkhrxngchumchnkarpkkhrxngsmybanechiyngyun 1 phxaesnpyya chawithekhinbanechiyngyun 2 phxaesnhlwngnythrrm ph s 2395 3 hlwngsuriya ph s 2420 4 phxhnanxinemuxng ph s 2450 5 phxhnanbuysngkh suyata ph s 2474 smyphxbuysngkhepnphupkkhrxngmihmubanxyusamhmuban khuxnabwwd nabwit aelanabwpaklwy xyutxmabannabwitkyubip aelwmihmubanekidkhunaethmbanhnung khuxbanhnxngeta samhmubannixyuinekhtkarduaelkhxngphxbuysngkhthnghmd smyninayelis suphaaekw idrbkaraetngtngihepnphuchwyphuihyban thahnathipkkhrxngbannabwpaklwyaelatidtxrachkarkbbanechiyngyun 6 phxnxykha emkhya ph s 2505 smyphxnxykhaepnphuihykmikaraebnghmuban thangrachkarkahndih bannabwpaklwy aeykkarpkkhrxngepnxik 1 hmubanodytngphxhnansaykha ekhytuy epnhwhnahmuban banlxmklang 1 phxhlwnghnansaykha ekhytuy 2 phxhlwnghnansmburn khaaesn 3 phxhlwngnxykha ichyprung 4 phxhnanxinwath xiphd hlngnnbanlxmklangkmiphupkkhrxnghmubantamthithangrachkaraetngtngmaeruxy cnmathung pi ph s 2526 smykhxng naywiechiyr ichyprung chawbanlxmklangekidkhwamkhdaeynginkarptibtiphuththsasnakbhmubanthungkhxng khrngnnchawbancungidmimtikhxaeykwdthungkhxngmatngwdkhunmaihm khrngnnphxhlwngnxykha aelaaemhlwngkhnkha ichyprung cungidbricakhswnmamwng ephuxtngwdlxmklang xikthngsxngepnhweriywhwaernginkarsrangsasnsthankhuninchumchnphasa sasnaaelakhwamechuxsaeniyngphasalux saeniyngphasachawluxemuxngechiynglab epnsaeniyngphasaediywkbphasaechiyngrung ehmuxnkbphasachawithyxng luxemuxngyxng twxksrkhxngchawithluxkhlaykbphasakhxngchawithekhin sungtangcakxksrlanna chawithluxemuxngechiynglabnbthuxphuththsasna aelanbthuxphibrrphburusaelaphitang karnbthuxphuththsasna phraphuththsasna nbthuxnikayethrwath prayuktekhakbwthnthrrmchawechiynglab karyxmrbnbthuxphuththsasnannchawechiynglabidrbkarephyaephrmacakechiyngaesn aelaphma karnbthuxphi khxhamsahrbaekhk hruxbukhkhlthiimidnbthuxbrrphburusediywknkhux hambukhkhlthinbthuxphitangknhruxaekhkthimaeyiymekhaiphxngnxnkhxngecabanodyeddkhad ephraahxngnxncaepnthisthitykhxngphikhruaelaphieruxn phiecaemuxng khuxphiecahlwngechiynglab aelaphramhaethwieca aelankrbobrantang thithahnathiduaelpkpkrksaban emuxng esuxemuxng sungphuthahnathitidtxphieriykwa ekhaca sungcaepnphuchay aelacatxngthaphithibwngsrwngdwyhmusidasnith aelatxngepntwthiimmithiti thuktxngtamlksna tamtarakhxnghmxphi karbwngsrwngcakrathapilasxngkhrng khuxeduxnsiaelaeduxnaepd tamptithinithlux hakmiehtukarnimpkti txngbwngsrwngdwyww khway hmu epd ik khxhamkhux hamphuhyingekhaekhtbwngsrwng niodyeddkhad phieruxn sungmithngphieruxnfayphx aelafayaem karsubphinnphuhyingcathahnathisubphieruxn khuxtxngthahnathitxkbphiesnihwimihkhad karbwngsrwngphieruxncakrathahlngcakbwngsrwngphiecaemuxng karbwngsrwngcabwngsrwngdwyiksida aelaikhik fay ethiynehluxng hruxkhiphung phuhyingcaepnkhnkratha phietaif aelaphihmxnung mihnathiduaelrksabaneruxnimihekidifihm aelaxaharepnphis xncathaihekidorkhphytang nxkcakniyngmihnathitrwctrawaekidsingrayxnidkhunkbbukhkhlinkhrxbkhrwaelaphuxun klawkhux emuxmikhnimsbayinbaneruxn ekhacacathaphithihasaehtuodyesiyngthaycakhmxnung karthrngphihmxnung phuthahnathitxngepnphuhyingethannaelacatxngsubthangsayeluxd emuxmikarthrngnncananaetaaelaihkhawmaphukkbimkhanihepnrupkhn ekhiynhuekhiynta cmuk isesuxpha aelwnakhawsariskradng kxnkarthrngphinncaihchawbanphisucnkxnkhuxihlxngykihkhawkxnwanahnkeba emuxmikarthrngaelwihkhawcaminahnkmak cntxngichkhnthungsxngkhnchwyknyk ipbriewnphithithimikradngxyu emuxipthungkradngphihmxnungcaekhiyntwhnngsuxepnphasaithlux sungcamilamkhuxkhnaekxanihfng hruxikhrthixanxxkkxxanidely caknnkxcathaphithiesiyngthayeruxngtang aelwaetikhrxyakrueruxngxair aetswnihythameruxngxakarecbpwy hakkhnecbpwynncatxngtayaen phihmxnungcawadepnrupolngsph aelwokykhawsarklbrupolngsph sungkaresiyngthaynncatrngkbkhwamcringesmx karthaphithininan xacsibpicamiskkhrnghruxsxngkhrng phikaphiha khuxphiimmiyati hruxsngphewsitang thikhxymarngkhwantharaychawban emuxecbpwyhmxcathaphithiesiyngthayaelacaihnakhxngipesnihw tamthiphlesiyngthayxxkma phikhru khuxphikhrubaxacary sungmihnathipkpkrksasisy phueriynkhathaewthmntrtang khwamechuxeruxngxun hamtmikh labepd aeknghxy eliyngaekhkhruxphumaeyuxn krni aekhkmabanaelwthukecabantmikhihkin aesdngwa ecabanimchxbaekhkkhnnn hrux aesdngthungkarkhbilaekhkxxkcakban hamwangimkwad hnabnidban hruxhamkwadbantxnaekhkekhaban thakwadbanaesdngwaimtxngkarihaekhkekhaban hamhyingchay wyhnumsaw thiyngimaetngnganthukenuxtxngtw hrux xyudwyknkxnaetngngan hruxkxnthaphithiikhwphipracatrakul hamtdtnimihy hruxexatnimcakpacha hruxbriewnhxphi ekhamainhmuban wnesiyphi wnephasphkhninhmuban hamkhnim hruxsingkhxngekhamainhmubanodyeddkhad hamtakphathung rxngetha iwthisungkwasirsa hamphuyingmipracaeduxnekhawd hamphuhying ekhaekhtphthsima hruxekhtsngkh sthup ecdiy hruxkutiphrasngkhpraephnikhxngchawluxemuxngechiynglabpangsipangaepd trngkbeduxnsi aelaeduxnaepd tamptithinithlux khuxphithibwchsrwngdwngwiyyankhxngecahlwngechiynglab aelaphranangmhaetwieca aelaehladwngwiyyankrbobran esuxban esuxemuxngechiynglab sungcacdkhunthukpi inchwngeduxnsi aelaeduxnaepd khxngchawithlux epnpraephnithitxngthathukpi hamewnodyeddkhad cikxngohl khux praephnithwayxkhkhiphuththbucha trngkbwnephyeduxnsibsxngkhxngithy hruxwnyiepngkhxnglanna aetineduxnkhxngchawithlux khux eduxnecngepng hrux ekngepng hmaythungeduxnhnunghruxeduxnxaykhunsibhakha nnexngsungepnpraephnithisubthxdmanbaetsmyxyuemuxngechiynglab sungwangewnhruximcdimideddkhad klawkhuxinwndngklawcamiphithiaepngekhaldekhaa aelaphithitkbatrintxnechatxnsayfngthrrm cnthungsxngthumcungthaphithiephaimngamhruximkasli karthaimkhasli sahrbthwaythannifayphuchaytxngiphaimngaminpamapxkepluxkihhmd imthiniymkhuximepa haihmicanwnkhrbkbkhninkhrxbkhrw aelabwkephimxik 1 2 thxn aelwcarukchux aelaxksrthrrmphasaithluxlngipinimaetlathxn caknnnaimipsumepnkxnghnawiharwd aelwnadayphnrxbimkhasli kxncudphracaepnkhnswdnathangewiynethiynsamrxb emuxkhrbsamrxbaelwcungnaethiynnncudifephaim emuxifihmim thukkhncaxthisthankhxngihekhraahthukxyangthicaekidkhunkbtw aelaxristrutang nnmxdihmipkbifnixyaihmiehlux khxihchiwitrungeruxngehmuxnkbifthilukswangkhuneruxy praephnipiihm trngkbeduxnhkkhxngchawithlux khuxwnsngkrantkhxngithy phithithitangkncakchawlannathwipkhux chawluxcamikarchlxngodykarthaphithibaysisukhwykhnethakhnaekthukkhn aelacatxngthaihkhrbthukkhninhmuban aelathukbanhakmiphusungxayutxngthaphithi aelatxngechiychawbanmarwmngan aelacamikarkhaik ephuxmatmsukhwyaela namaeliyngaekhkthukkhninban aelatxngeliyngcnaekhkkhnsudthayklbxachiph1 thana thair 2 swnphrik 3 karphlitkradassa aelaphlitphnthcakkradassaxangxingphunemuxngechiyngaesn wdpask x echiyngaesn c echiyngray prawtichawithlux banlxmklang t ym x thawngpha c nan prawtikhwamepnmakhxngtablsilaephchr t silaephchr x pw c nanbthkhwamekhtkarpkkhrxngkhxngpraethsithyniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk