บีร์ฆิเนีย บ็อลเทิน (ค.ศ. 1870 – 1960) เป็นนักข่าวและนักกิจกรรมอนาธิปไตยและสตรีนิยมชาวอาร์เจนตินาเชื้อสายเยอรมัน เธอได้ถูกยกย่องว่าเป็นนักพูดที่มีพรสวรรค์ และถูกถือว่าเป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มการต่อสู้เพื่อสิทธิสตรีในประเทศอาร์เจนตินา ใน ค.ศ. 1902 เธอถูกเนรเทศไปอยู่ที่ประเทศอุรุกวัย ซึ่งเป็นที่ที่เธออาศัยอยู่จนกระทั่งถึงแก่กรรม
บีร์ฆิเนีย บ็อลเทิน | |
---|---|
ภาพถ่ายของ บีร์ฆิเนีย บ็อลเทิน | |
เกิด | ค.ศ. 1870 หรือ , อาร์เจนตินา |
เสียชีวิต | ค.ศ. 1960 มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย |
อาชีพ | นักข่าว นักกิจกรรม |
มีชื่อเสียงจาก | เผยแพร่หนังสือพิมพ์อนาธิปไตย จัดตั้งการเดินขบวนเมย์เดย์เป็นครั้งแรกในทวีปอเมริกาใต้ |
ประวัติ
บีร์ฆิเนีย บ็อลเทิน เป็นลูกสาวของผู้อพยพชาวเยอรมัน เธอเกิดเมื่อ ค.ศ. 1870 ในประเทศอาร์เจนตินา เมืองซานลุยส์หรือซานฆวนไม่แน่ชัด เธอใช้ชีวิตวัยเด็กในรัฐซานฆวน และย้ายไปอาศัยที่เมืองโรซาริโอเมื่ออายุ 14 ปี หลังจากก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ เธอได้ทำงานเป็นช่างทำรองเท้าและคนงานโรงงานน้ำตาล ขณะทำงานเป็นช่างทำรองเท้าเธอได้พบกับผู้จัดตั้งสหภาพแรงงานรองเท้า ฆวน มาร์เกซ ซึ่งพวกเขาได้สมรสกันในภายหลัง ด้วยความที่เธอรู้จักกับ (Pietro Gori) จึงทำให้เธอได้เข้ามาสู่แวดวงแนวคิดอนาธิปไตย ภายหลังจากการทำกิจกรรมในขบวนการแรงงาน อนาธิปไตย และสตรีนิยมเป็นเวลาหลายปี ใน ค.ศ. 1902 เธอถูกเนรเทศไปยังอุรุกวัยตามกฎหมายถิ่นที่อยู่ (สเปน: Ley de Residencia) ของอาร์เจนตินาในขณะนั้น
ความเคลื่อนไหว
ใน ค.ศ. 1888 บ็อลเทินได้มาเป็นหนึ่งในผู้จัดพิมพ์ของหนังสือพิมพ์อนาธิปไตยสำนักแรก ๆ สำนักหนึ่งในอาร์เจนตินาชื่อ El Obrero Panadero de Rosario (ไทย: คนงานร้านขนมปังแห่งโรซาริโอ) ใน ค.ศ. 1889 เธอได้จัดตั้งการเดินขบวนและการนัดหยุดงานในภายหลังของช่างเย็บผ้าหญิงในโรซาริโอ ซึ่งนี่อาจเป็นการนัดหยุดงานของคนทำงานเพศหญิงเป็นครั้งแรกในอาร์เจนตินา
ใน ค.ศ. 1890 บีร์ฆิเนีย บ็อลเทิน, โรมูโล โอวีดี (Romulo Ovidi) และ ฟรันซิสโก เบร์ริ (Francisco Berri) เป็นผู้จัดงานหลักของการเดินขบวนเมย์เดย์ครั้งแรก ๆ บรรณาธิการคนอื่น ๆ ของ El Obrero Panadero de Rosario ก็มีหน้าที่ที่สำคัญไม่แพ้กันในการจัดงานเดินขบวนแต่ละครั้ง ในวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1890 (หนึ่งวันก่อนการเดินขบวน) เธอถูกควบคุมตัวและสอบสวนโดยกองกำลังตำรวจท้องถิ่นด้วยข้อหาการแจกใบปลิวข้างนอกโรงงานหลัก ๆ ภายในพื้นที่ ระหว่างการเดินขบวนเมย์เดย์ เธอได้เดินนำคนทำงานจำนวนหลักพันคนกลุ่มหนึ่งไปยัง (Plaza Lopez) ซึ่งในขณะนั้นอยู่ในเขตชานเมืองของโรซาริโอ ตลอดการเดินขบวนเธอถือธงแดง ซึ่งมีข้อความเขียนไว้ว่า "Primero de Mayo - Fraternidad Universal; Los trabajadores de Rosario cumplimos las disposiciones del Comité Obrero Internacional de París" (ไทย: วันที่หนึ่งเมษายน - ภราดรภาพสากล; คนทำงานเมืองโรซาริโอกระทำตามข้อกำหนดของสภาแรงงานสากลแห่งปารีส)หลังจากถูกเนรเทศไปยังอุรุกวัย เธอได้สานต่อการต่อสู้ของเธอในมอนเตวิเดโอ
La Voz de la Mujer
บ็อลเทินอาจมีส่วนร่วมในการจัดพิมพ์หนังสือพิมพ์ชื่อว่า (ไทย: เสียงของผู้หญิง) ซึ่งได้ถูกตีพิมพ์ออกมาเก้าฉบับในเมืองโรซาริโอระหว่างวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1896 ถึงวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1897 และได้ถูกรื้อฟื้นขึ้นใหม่เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ใน ค.ศ. 1901 สิ่งพิมพ์ที่คล้ายกันและมีชื่อเดียวกันนั้นได้มีรายงานว่าถูกตีพิมพ์ขึ้นในภายหลังที่เมืองมอนเตวิเดโอ ซึ่งมีการเสนอขึ้นว่าบ็อลเทินอาจเป็นผู้ก่อตั้งขึ้นมาและทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการภายหลังที่เธอถูกเนรเทศ
La Nueva Senda
ในอุรุกวัย บ็อลเทินได้สานต่องานกิจกรรมของเธอ โดยได้จัดพิมพ์หนังสือพิมพ์ชื่อว่า La Nueva Senda (ไทย: เส้นทางใหม่) ระหว่าง ค.ศ. 1909 ถึง 1910
สิ่งตีพิมพ์อื่น
เธอได้เผยแพร่บทความหลายชิ้นในวารสารและหนังสือพิมพ์ลัทธิอนาธิปไตย-คอมมิวนิสต์ ที่เป็นที่รู้จักที่สุดมีชื่อว่า La Protesta และ La Protesta Humana
มรดก
สวนสาธารณะ
สวนสาธารณะแห่งหนึ่งในเขตของบัวโนสไอเรสถูกตั้งชื่อตามเธอเพื่อเป็นเกียรติแด่เธอ
ภาพยนตร์
ใน ค.ศ. 2007 รัฐบาลรัฐซานลุยส์ในอาร์เจนตินาได้ลงทุนในการถ่ายทำภาพยนตร์เพื่อเป็นเกียรติแด่ บีร์ฆิเนีย บ็อลเทิน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับชีวิตของบ็อลเทิน และสภาพทางสังคมซึ่งนำไปสู่การตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ La Voz de la Mujer ซึ่งมีชื่อว่า Ni dios, ni patrón, ni marido (ไทย: ไม่มีพระเจ้า ไม่มีเจ้านาย ไม่มีสามี) ซึ่งตั้งตามคติพจน์อันหนึ่งของหนังสือพิมพ์ฉบับนั้น โดยมี (Julieta Díaz) รับบทเป็น บีร์ฆิเนีย บ็อลเทิน ภาพยนตร์เรื่องนี้ซึ่งออกฉายในวันที่ 29 เมษายน 2010 ในอาร์เจนตินามี (Laura Mañá) เป็นผู้กำกับชาวสเปน
อ้างอิง
- Molyneux, M. (1986). "No God, No Boss, No Husband: Anarchist Feminism in Nineteenth-Century Argentina". Latin American Perspectives. Vol. 13 no. 1. SAGE. p. 130. JSTOR 2633723.
- Moya 2002, p. 205: "Some gifted orators, including women such as Virginia Bolten, María Collazo, and Ramona Ferreyra, could 'pack the house' by themselves."
- "Biography of Virginia Bolten". 29 พฤษภาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2010.
- Carlson, M. (1988). Feminismo!: the woman's movement in Argentina from its beginnings to Eva Perón. Academy Chicago Publishers. p. 127. ISBN .
- Molyneux, M. (2003). Movimientos de mujeres en América Latina: estudio teórico comparado (ภาษาสเปน). แปลโดย Cruz, J. Universitat de València. p. 42. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2010.
- Moya 2002, p. 202: "The anarchist Virginia Bolten had led in 1889 what was perhaps the first strike by women in the country - that of the dressmakers in Rosario [...]"
- Portugal, A. M. (8 มีนาคม 2005). (ภาษาสเปน). Mujeres Hoy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 พฤษภาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2010.
- "Museo de la Ciudad" (PDF) (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2010.
{{}}
: CS1 maint: url-status () - Avigliano, M. (3 มิถุนายน 2016). "La palabra rugiente". Página 12 (ภาษาสเปน). จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2022.
[...] con una bandera negra con letras rojas en las que se leía 'Primero de Mayo, Fraternidad Universal. Los trabajadores de Rosario cumplimos las disposiciones del Comité Obrero Internacional de París.'
- Ehrick, C. (2005). The shield of the weak: feminism and the State in Uruguay, 1903-1933. UNM Press. p. 61. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2010.
- Prieto, Cordero & Muñoz 2014
- . South American Business Information. 6 ธันวาคม 2000. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2012. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2010.
- Simeoni, A. (3 ตุลาคม 2007). "Film Adaptation of Virginia Bolten's activities". Página 12 (ภาษาสเปน). อาร์เจนตินา. จากแหล่งเดิมเมื่อ 6 มีนาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2010.
บรรณานุกรม
- Moya, J. (2002). "Italians in Buenos Aires's Anarchist Movement: Gender Ideology and Women's Participation, 1890-1910". ใน Gabaccia, D. R.; Iacovetta, F. (บ.ก.). Women, gender and transnational lives: Italian workers of the world. University of Toronto Press. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2010.
- Prieto, A.; Cordero, L. F.; Muñoz, P. (2014). . Políticas de la Memoria (ภาษาสเปน). Vol. 2014 no. 14. บัวโนสไอเรส: CeDInCI. pp. 207–234. ISSN 1668-4885. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 มิถุนายน 2021. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2022.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
birkhieniy bxlethin kh s 1870 1960 epnnkkhawaelankkickrrmxnathipityaelastriniymchawxarecntinaechuxsayeyxrmn ethxidthukykyxngwaepnnkphudthimiphrswrrkh aelathukthuxwaepnhnunginphurierimkartxsuephuxsiththistriinpraethsxarecntina in kh s 1902 ethxthukenrethsipxyuthipraethsxurukwy sungepnthithiethxxasyxyucnkrathngthungaekkrrmbirkhieniy bxlethinphaphthaykhxng birkhieniy bxlethinekidkh s 1870 hrux xarecntinaesiychiwitkh s 1960 mxnetwiedox xurukwyxachiphnkkhaw nkkickrrmmichuxesiyngcakephyaephrhnngsuxphimphxnathipity cdtngkaredinkhbwnemyedyepnkhrngaerkinthwipxemrikaitprawtibirkhieniy bxlethin epnluksawkhxngphuxphyphchaweyxrmn ethxekidemux kh s 1870 inpraethsxarecntina emuxngsanluyshruxsankhwnimaenchd ethxichchiwitwyedkinrthsankhwn aelayayipxasythiemuxngorsarioxemuxxayu 14 pi hlngcakkawekhasuwyphuihy ethxidthanganepnchangtharxngethaaelakhnnganorngngannatal khnathanganepnchangtharxngethaethxidphbkbphucdtngshphaphaerngnganrxngetha khwn mareks sungphwkekhaidsmrskninphayhlng dwykhwamthiethxruckkb Pietro Gori cungthaihethxidekhamasuaewdwngaenwkhidxnathipity phayhlngcakkarthakickrrminkhbwnkaraerngngan xnathipity aelastriniymepnewlahlaypi in kh s 1902 ethxthukenrethsipyngxurukwytamkdhmaythinthixyu sepn Ley de Residencia khxngxarecntinainkhnannkhwamekhluxnihwin kh s 1888 bxlethinidmaepnhnunginphucdphimphkhxnghnngsuxphimphxnathipitysankaerk sankhnunginxarecntinachux El Obrero Panadero de Rosario ithy khnnganrankhnmpngaehngorsariox in kh s 1889 ethxidcdtngkaredinkhbwnaelakarndhyudnganinphayhlngkhxngchangeybphahyinginorsariox sungnixacepnkarndhyudngankhxngkhnthanganephshyingepnkhrngaerkinxarecntina in kh s 1890 birkhieniy bxlethin ormuol oxwidi Romulo Ovidi aela frnsisok ebrri Francisco Berri epnphucdnganhlkkhxngkaredinkhbwnemyedykhrngaerk brrnathikarkhnxun khxng El Obrero Panadero de Rosario kmihnathithisakhyimaephkninkarcdnganedinkhbwnaetlakhrng inwnthi 30 emsayn kh s 1890 hnungwnkxnkaredinkhbwn ethxthukkhwbkhumtwaelasxbswnodykxngkalngtarwcthxngthindwykhxhakaraeckibpliwkhangnxkorngnganhlk phayinphunthi rahwangkaredinkhbwnemyedy ethxidedinnakhnthangancanwnhlkphnkhnklumhnungipyng Plaza Lopez sunginkhnannxyuinekhtchanemuxngkhxngorsariox tlxdkaredinkhbwnethxthuxthngaedng sungmikhxkhwamekhiyniwwa Primero de Mayo Fraternidad Universal Los trabajadores de Rosario cumplimos las disposiciones del Comite Obrero Internacional de Paris ithy wnthihnungemsayn phradrphaphsakl khnthanganemuxngorsarioxkrathatamkhxkahndkhxngsphaaerngngansaklaehngparis hlngcakthukenrethsipyngxurukwy ethxidsantxkartxsukhxngethxinmxnetwiedox La Voz de la Mujer bxlethinxacmiswnrwminkarcdphimphhnngsuxphimphchuxwa ithy esiyngkhxngphuhying sungidthuktiphimphxxkmaekachbbinemuxngorsarioxrahwangwnthi 8 mkrakhm kh s 1896 thungwnthi 1 mkrakhm kh s 1897 aelaidthukruxfunkhunihmepnrayaewlasn in kh s 1901 singphimphthikhlayknaelamichuxediywknnnidmiraynganwathuktiphimphkhuninphayhlngthiemuxngmxnetwiedox sungmikaresnxkhunwabxlethinxacepnphukxtngkhunmaaelathahnathiepnbrrnathikarphayhlngthiethxthukenreths La Nueva Senda inxurukwy bxlethinidsantxngankickrrmkhxngethx odyidcdphimphhnngsuxphimphchuxwa La Nueva Senda ithy esnthangihm rahwang kh s 1909 thung 1910 singtiphimphxun ethxidephyaephrbthkhwamhlaychininwarsaraelahnngsuxphimphlththixnathipity khxmmiwnist thiepnthiruckthisudmichuxwa La Protesta aela La Protesta Humanamrdkswnsatharna swnsatharnaaehnghnunginekhtkhxngbwonsixersthuktngchuxtamethxephuxepnekiyrtiaedethx phaphyntr in kh s 2007 rthbalrthsanluysinxarecntinaidlngthuninkarthaythaphaphyntrephuxepnekiyrtiaed birkhieniy bxlethin odymienuxhaekiywkbchiwitkhxngbxlethin aelasphaphthangsngkhmsungnaipsukartiphimphhnngsuxphimph La Voz de la Mujer sungmichuxwa Ni dios ni patron ni marido ithy immiphraeca immiecanay immisami sungtngtamkhtiphcnxnhnungkhxnghnngsuxphimphchbbnn odymi Julieta Diaz rbbthepn birkhieniy bxlethin phaphyntreruxngnisungxxkchayinwnthi 29 emsayn 2010 inxarecntinami Laura Mana epnphukakbchawsepnxangxingMolyneux M 1986 No God No Boss No Husband Anarchist Feminism in Nineteenth Century Argentina Latin American Perspectives Vol 13 no 1 SAGE p 130 JSTOR 2633723 Moya 2002 p 205 Some gifted orators including women such as Virginia Bolten Maria Collazo and Ramona Ferreyra could pack the house by themselves Biography of Virginia Bolten 29 phvsphakhm 2009 subkhnemux 2 kumphaphnth 2010 Carlson M 1988 Feminismo the woman s movement in Argentina from its beginnings to Eva Peron Academy Chicago Publishers p 127 ISBN 9780897331524 Molyneux M 2003 Movimientos de mujeres en America Latina estudio teorico comparado phasasepn aeplody Cruz J Universitat de Valencia p 42 ISBN 9788437620862 subkhnemux 2 kumphaphnth 2010 Moya 2002 p 202 The anarchist Virginia Bolten had led in 1889 what was perhaps the first strike by women in the country that of the dressmakers in Rosario Portugal A M 8 minakhm 2005 phasasepn Mujeres Hoy khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 31 phvsphakhm 2009 subkhnemux 2 kumphaphnth 2010 Museo de la Ciudad PDF phasasepn subkhnemux 2 kumphaphnth 2010 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk Avigliano M 3 mithunayn 2016 La palabra rugiente Pagina 12 phasasepn cakaehlngedimemux 1 singhakhm 2017 subkhnemux 6 minakhm 2022 con una bandera negra con letras rojas en las que se leia Primero de Mayo Fraternidad Universal Los trabajadores de Rosario cumplimos las disposiciones del Comite Obrero Internacional de Paris Ehrick C 2005 The shield of the weak feminism and the State in Uruguay 1903 1933 UNM Press p 61 ISBN 9780826334688 subkhnemux 2 kumphaphnth 2010 Prieto Cordero amp Munoz 2014 South American Business Information 6 thnwakhm 2000 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 3 phvscikayn 2012 subkhnemux 2 kumphaphnth 2010 Simeoni A 3 tulakhm 2007 Film Adaptation of Virginia Bolten s activities Pagina 12 phasasepn xarecntina cakaehlngedimemux 6 minakhm 2022 subkhnemux 2 kumphaphnth 2010 brrnanukrm Moya J 2002 Italians in Buenos Aires s Anarchist Movement Gender Ideology and Women s Participation 1890 1910 in Gabaccia D R Iacovetta F b k Women gender and transnational lives Italian workers of the world University of Toronto Press ISBN 9780802084620 subkhnemux 2 kumphaphnth 2010 Prieto A Cordero L F Munoz P 2014 Politicas de la Memoria phasasepn Vol 2014 no 14 bwonsixers CeDInCI pp 207 234 ISSN 1668 4885 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 14 mithunayn 2021 subkhnemux 6 minakhm 2022