50°00′00″S 100°00′00″W / 50.000000°S 100.000000°W
บลุป (อังกฤษ: Bloop) เป็นชื่อเรียกของเสียงความถี่ต่ำมากใต้มหาสมุทรซึ่ง (อังกฤษ: National Oceanic and Atmospheric Administration หรือ NOAA) ของสหรัฐอเมริกาสามารถตรวจจับได้ในช่วงฤดูร้อนของ พ.ศ. 2540 ต้นกำเนิดของบลุปยังเป็นปริศนา
ที่มา
ที่มาของบลุปนั้นสามารถระบุได้ว่าเป็นบริเวณ 50°S 100°W / 50°S 100°W (ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปอเมริกาใต้) ในมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณเส้นศูนย์สูตร ซึ่งใช้ระบบฟังเสียงใต้น้ำของที่เดิมใช้ตรวจหาเรือดำน้ำของสหภาพโซเวียต สามารถจับเสียงของบลุปได้หลายครั้ง NOAA ได้บรรยายว่าบลุปนั้นมีความถี่สูงขึ้นเรื่อยๆเป็นเวลากว่าหนึ่งนาที และเป็นเสียงดังในบริเวณกว้างพอที่เซนเซอร์จำนวนมากในรัศมี 5,000 กิโลเมตรสามารถตรวจจับได้
นักวิทยาศาสตร์ซึ่งได้ศึกษาบลุป และตั้งสมมติฐานระบุว่ารูปมีลักษณะเหมือนเสียงของสัตว์ แต่ไม่มีสัตว์น้ำชนิดใดที่เรารู้จักซึ่งสามารถสร้างเสียงเช่นนี้ได้ ถ้าเสียงนี้มาจากสัตว์ มันต้องเป็นมีขนาดใหญ่กว่าวาฬสีน้ำเงินหลายเท่าตัว
วิเคราะห์
หลังจาก NOAA สำรวจและได้ทำการวิเคราะห์คลื่นเสียงผ่านสเปคโปรแกรม แล้วคาดกันว่า น่าจะเป็นเสียงก้อนภูเขาน้ำแข็งในมหาสมุทร ส่วนที่นักวิทยาศาสตร์ได้บอกว่า รูปมีลักษณะเหมือนเสียงของสัตว์ มันต้องเป็นมีขนาดใหญ่กว่าวาฬสีน้ำเงินหลายเท่าตัว ความจริงคือ คนที่ตั้งตั้งข้อสมมติฐานมาจากนักเขียนที่มีชื่อว่า"เดวิด โวลแมน (David Wolman)"เป็นนักข่าว และนักเขียนประเภทรหัสยศาสตร์ หรือ สิ่งลึกลับ โดยสมมติฐานของเดวิด โวลแมน มีข้อความดังนี้
Fox's hunch is that the sound nicknamed Bloop is the most likely to come from some sort of animal, because its signature is a rapid variation in frequency similar to that of sounds known to be made by marine beasts. There's one crucial difference, however: in 1997 Bloop was detected by sensors up to 4,800 kilometres (3,000 mi) apart. That means it must be far louder than any whale noise, or any other animal noise for that matter. Is it even remotely possible that some creature bigger than any whale is lurking in the ocean depths? Or, perhaps more likely, something that is much more efficient at making sound?
— David Wolman
สถานที่เกิดเหตุ และข้อมูลเพิ่มเติม
NOAA ได้พบข้อมูลเพิ่มเติมคือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ไม่ได้เกิดที่บริเวณ 50°S 100°W / 50°S 100°W (ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปอเมริกาใต้) ในมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณเส้นศูนย์สูตร แต่เกิดที่บริเวณขั้วโลกใต้ ต้นกำเนิดเสียงมาจากก้อนภูเขาน้ำแข็งที่มีชื่อว่า A53a ค้นพบอยู่ที่เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช และทาง NOAA ได้เปิดเผยชื่อนักวิทยาศาสตร์ที่บอกว่า มันน่าจะเป็นเสียงก้อนภูเขาน้ำแข็งในมหาสมุทร คือ Dr.Yunbo Xie (ด็อกเตอร์เหยินโบว ฉี) เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านคลื่นเสียง
อ้างอิง
- . CNN.com. June 13, 2002. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-24. สืบค้นเมื่อ 2009-07-04.
- John von Radowitz, (June 13, 2002). "Beware the Bloop". The Age.
{{}}
: CS1 maint: extra punctuation () - Richard Stenger (September 7, 2001). . CNN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-27. สืบค้นเมื่อ 2009-07-04.
แหล่งข้อมูลอื่น
- "Bloop" NOAA Vents Program for Acoustic Monitoring. Has a link to a wav file of the (sped up) sound, as well as a spectrogram.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
50 00 00 S 100 00 00 W 50 000000 S 100 000000 W 50 000000 100 000000 krafesiyngkhxngblup blup xngkvs Bloop epnchuxeriykkhxngesiyngkhwamthitamakitmhasmuthrsung xngkvs National Oceanic and Atmospheric Administration hrux NOAA khxngshrthxemrikasamarthtrwccbidinchwngvdurxnkhxng ph s 2540 tnkaenidkhxngblupyngepnprisnathimathimakhxngblupnnsamarthrabuidwaepnbriewn 50 S 100 W 50 S 100 W 50 100 chayfngtawntkechiyngitkhxngthwipxemrikait inmhasmuthraepsifik briewnesnsunysutr sungichrabbfngesiyngitnakhxngthiedimichtrwchaeruxdanakhxngshphaphosewiyt samarthcbesiyngkhxngblupidhlaykhrng NOAA idbrryaywablupnnmikhwamthisungkhuneruxyepnewlakwahnungnathi aelaepnesiyngdnginbriewnkwangphxthiesnesxrcanwnmakinrsmi 5 000 kiolemtrsamarthtrwccbid nkwithyasastrsungidsuksablup aelatngsmmtithanrabuwarupmilksnaehmuxnesiyngkhxngstw aetimmistwnachnididthierarucksungsamarthsrangesiyngechnniid thaesiyngnimacakstw mntxngepnmikhnadihykwawalsinaenginhlayethatw Bloop ogg source source track esiyngblup cakewbistkhxng NOAA elndwykhwamerwtamakthung 16 ethakhxngesiyngdngedim hakmipyhainkarelniflni duthiwithiichsuxwiekhraahhlngcak NOAA sarwcaelaidthakarwiekhraahkhlunesiyngphansepkhopraekrm aelwkhadknwa nacaepnesiyngkxnphuekhanaaekhnginmhasmuthr swnthinkwithyasastridbxkwa rupmilksnaehmuxnesiyngkhxngstw mntxngepnmikhnadihykwawalsinaenginhlayethatw khwamcringkhux khnthitngtngkhxsmmtithanmacaknkekhiynthimichuxwa edwid owlaemn David Wolman epnnkkhaw aelankekhiynpraephthrhsysastr hrux singluklb odysmmtithankhxngedwid owlaemn mikhxkhwamdngniFox s hunch is that the sound nicknamed Bloop is the most likely to come from some sort of animal because its signature is a rapid variation in frequency similar to that of sounds known to be made by marine beasts There s one crucial difference however in 1997 Bloop was detected by sensors up to 4 800 kilometres 3 000 mi apart That means it must be far louder than any whale noise or any other animal noise for that matter Is it even remotely possible that some creature bigger than any whale is lurking in the ocean depths Or perhaps more likely something that is much more efficient at making sound David Wolmansthanthiekidehtu aelakhxmulephimetimNOAA idphbkhxmulephimetimkhux ehtukarnthiekidkhun imidekidthibriewn 50 S 100 W 50 S 100 W 50 100 chayfngtawntkechiyngitkhxngthwipxemrikait inmhasmuthraepsifik briewnesnsunysutr aetekidthibriewnkhwolkit tnkaenidesiyngmacakkxnphuekhanaaekhngthimichuxwa A53a khnphbxyuthiekaaesathcxreciyaelahmuekaaesathaesndwich aelathang NOAA idepidephychuxnkwithyasastrthibxkwa mnnacaepnesiyngkxnphuekhanaaekhnginmhasmuthr khux Dr Yunbo Xie dxketxrehyinobw chi epnphuechiywchaythangdankhlunesiyngxangxing CNN com June 13 2002 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 08 24 subkhnemux 2009 07 04 John von Radowitz June 13 2002 Beware the Bloop The Age a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite news title aemaebb Cite news cite news a CS1 maint extra punctuation Richard Stenger September 7 2001 CNN khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 01 27 subkhnemux 2009 07 04 aehlngkhxmulxun Bloop NOAA Vents Program for Acoustic Monitoring Has a link to a wav file of the sped up sound as well as a spectrogram