นาฬิกาสิบสองชั่วโมง เป็นระบบการนับเวลาแบบตะวันตก ควบคู่กันไปกับนาฬิกาหกชั่วโมงที่ใช้ตามประเพณีไทยดั้งเดิม เช่นเดียวกับระบบอื่นที่ใช้กันทั่วไป ระบบดังกล่าวนับว่าหนึ่งวันมียี่สิบสี่ชั่วโมง แต่ในหนึ่งวันจะแบ่งออกเป็นสองส่วน นาฬิกาสิบสองชั่วโมง มีสองช่วงเวลาได้แก่ เอเอ็ม (ก่อนเที่ยง) (ละติน: AM, Ante Meridiem) เริ่มนับเวลาตั้งแต่ 00.00 น. ถึง 11.59 น. และพีเอ็ม (หลังเที่ยง) (ละติน: PM, Post Meridiem) เริ่มนับเวลาตั้งแต่ 12:00 น. จน 23:59 น[]
การนับ
วิธีนับเวลาแบบตะวันตก แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ก่อนเที่ยง กับ หลังเที่ยง เมื่อเทียบกับของไทยดั้งเดิมตามประเพณี แบ่งเป็น 3 ช่วงหลัก คือ โมง ทุ่ม และตี
“ก่อนเที่ยง” นับตั้งแต่เที่ยงคืนจนถึงเที่ยง (11:59) ส่วน “หลังเที่ยง” จะนับตั้งแต่เที่ยงวันจนถึงห้าทุ่ม (23:59)
ประวัติ
ระบบนี้ใช้กันมาในบางรูปแบบตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรอยุธยา แต่ได้รับการจัดให้เป็นหมวดหมู่คล้ายกับในปัจจุบันในปี พ.ศ. 2444 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 17 หน้า 206 ทุกวันนี้ ระบบดังกล่าวใช้ในการสนทนาระดับไม่เป็นทางการเท่านั้น
ตารางเปรียบเทียบ
เวลา | นาฬิกาสิบสองชั่วโมง | นาฬิกาหกชั่วโมง |
---|---|---|
12:00 ก่อนเที่ยง หรือ 0:00 ก่อนเที่ยง | สิบสองก่อนเที่ยง หรือ ศูนย์ก่อนเที่ยง | หกทุ่ม, เที่ยงคืน |
1:00 ก่อนเที่ยง | หนึ่งก่อนเที่ยง | ตีหนึ่ง |
2:00 ก่อนเที่ยง | สองก่อนเที่ยง | ตีสอง |
3:00 ก่อนเที่ยง | สามก่อนเที่ยง | ตีสาม |
4:00 ก่อนเที่ยง | สี่ก่อนเที่ยง | ตีสี่ |
5:00 ก่อนเที่ยง | ห้าก่อนเที่ยง | ตีห้า |
6:00 ก่อนเที่ยง | หกก่อนเที่ยง | ตีหก ย่ำรุ่ง หกโมงเช้า |
7:00 ก่อนเที่ยง | เจ็ดก่อนเที่ยง | เช้าโมง เจ็ดโมงเช้า |
8:00 ก่อนเที่ยง | แปดก่อนเที่ยง | เช้าสอง แปดโมงเช้า |
9:00 ก่อนเที่ยง | เก้าก่อนเที่ยง | เช้าสาม เก้าโมงเช้า |
10:00 ก่อนเที่ยง | สิบก่อนเที่ยง | เช้าสี่ สิบโมงเช้า |
11:00 ก่อนเที่ยง | สิบเอ็ดก่อนเที่ยง | เช้าห้า สิบเอ็ดโมง |
12:00 หลังเที่ยง หรือ 0:00 หลังเที่ยง | สิบสองหลังเที่ยง หรือ ศูนย์หลังเที่ยง | เที่ยงวัน |
1:00 หลังเที่ยง | หนึ่งหลังเที่ยง | บ่ายโมง |
2:00 หลังเที่ยง | สองหลังเที่ยง | บ่ายสองโมง |
3:00 หลังเที่ยง | สามหลังเที่ยง | บ่ายสามโมง |
4:00 หลังเที่ยง | สี่หลังเที่ยง | สี่โมงเย็น |
5:00 หลังเที่ยง | ห้าหลังเที่ยง | ห้าโมงเย็น |
6:00 หลังเที่ยง | หกหลังเที่ยง | หกโมงเย็น, ย่ำค่ำ |
7:00 หลังเที่ยง | เจ็ดหลังเที่ยง | หนึ่งทุ่ม |
8:00 หลังเที่ยง | แปดหลังเที่ยง | สองทุ่ม |
9:00 หลังเที่ยง | เก้าหลังเที่ยง | สามทุ่ม |
10:00 หลังเที่ยง | สิบหลังเที่ยง | สี่ทุ่ม |
11:00 หลังเที่ยง | สิบเอ็ดหลังเที่ยง | ห้าทุ่ม |
อ้างอิง
- "Time". The New Encyclopædia Britannica. Vol. 28. 1986. pp. 660 2a.
"Time". Encyclopædia Britannica. Encyclopædia Britannica Online Library Edition. สืบค้นเมื่อ 20 November 2013. (ต้องรับบริการ)
"The use of AM or PM to designate either noon or midnight can cause ambiguity. To designate noon, either the word noon or 1200 or 12 M should be used. To designate midnight without causing ambiguity, the two dates between which it falls should be given unless the 24-hour notation is used. Thus, midnight may be written: May 15–16 or 2400 May 15 or 0000 May 16." - "National Institute of Standards and Technology's Physics Laboratory, Times of Day FAQs". สืบค้นเมื่อ 20 September 2016.
- Susan Addington (25 August 2016). . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2008. สืบค้นเมื่อ 28 November 2008.
- "ประกาศใช้ทุ่มโมงยาม" (PDF), Royal Gazette, no. 17, p. 206, 29 July 1901, สืบค้นเมื่อ 2008-10-18. (ไทย)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nalikasibsxngchwomng epnrabbkarnbewlaaebbtawntk khwbkhuknipkbnalikahkchwomngthiichtampraephniithydngedim echnediywkbrabbxunthiichknthwip rabbdngklawnbwahnungwnmiyisibsichwomng aetinhnungwncaaebngxxkepnsxngswn nalikasibsxngchwomng misxngchwngewlaidaek exexm kxnethiyng latin AM Ante Meridiem erimnbewlatngaet 00 00 n thung 11 59 n aelaphiexm hlngethiyng latin PM Post Meridiem erimnbewlatngaet 12 00 n cn 23 59 n txngkarxangxing karnbwithinbewlaaebbtawntk aebngepn 2 chwng khux kxnethiyng kb hlngethiyng emuxethiybkbkhxngithydngedimtampraephni aebngepn 3 chwnghlk khux omng thum aelati kxnethiyng nbtngaetethiyngkhuncnthungethiyng 11 59 swn hlngethiyng canbtngaetethiyngwncnthunghathum 23 59 prawtirabbniichknmainbangrupaebbtngaetsmyrachxanackrxyuthya aetidrbkarcdihepnhmwdhmukhlaykbinpccubninpi ph s 2444 odyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw inrachkiccanuebksaelm 17 hna 206 thukwnni rabbdngklawichinkarsnthnaradbimepnthangkarethanntarangepriybethiybewla nalikasibsxngchwomng nalikahkchwomng12 00 kxnethiyng hrux 0 00 kxnethiyng sibsxngkxnethiyng hrux sunykxnethiyng hkthum ethiyngkhun1 00 kxnethiyng hnungkxnethiyng tihnung2 00 kxnethiyng sxngkxnethiyng tisxng3 00 kxnethiyng samkxnethiyng tisam4 00 kxnethiyng sikxnethiyng tisi5 00 kxnethiyng hakxnethiyng tiha6 00 kxnethiyng hkkxnethiyng tihk yarung hkomngecha7 00 kxnethiyng ecdkxnethiyng echaomng ecdomngecha8 00 kxnethiyng aepdkxnethiyng echasxng aepdomngecha9 00 kxnethiyng ekakxnethiyng echasam ekaomngecha10 00 kxnethiyng sibkxnethiyng echasi sibomngecha11 00 kxnethiyng sibexdkxnethiyng echaha sibexdomng12 00 hlngethiyng hrux 0 00 hlngethiyng sibsxnghlngethiyng hrux sunyhlngethiyng ethiyngwn1 00 hlngethiyng hnunghlngethiyng bayomng2 00 hlngethiyng sxnghlngethiyng baysxngomng3 00 hlngethiyng samhlngethiyng baysamomng4 00 hlngethiyng sihlngethiyng siomngeyn5 00 hlngethiyng hahlngethiyng haomngeyn6 00 hlngethiyng hkhlngethiyng hkomngeyn yakha7 00 hlngethiyng ecdhlngethiyng hnungthum8 00 hlngethiyng aepdhlngethiyng sxngthum9 00 hlngethiyng ekahlngethiyng samthum10 00 hlngethiyng sibhlngethiyng sithum11 00 hlngethiyng sibexdhlngethiyng hathumxangxing Time The New Encyclopaedia Britannica Vol 28 1986 pp 660 2a Time Encyclopaedia Britannica Encyclopaedia Britannica Online Library Edition subkhnemux 20 November 2013 txngrbbrikar The use of AM or PM to designate either noon or midnight can cause ambiguity To designate noon either the word noon or 1200 or 12 M should be used To designate midnight without causing ambiguity the two dates between which it falls should be given unless the 24 hour notation is used Thus midnight may be written May 15 16 or 2400 May 15 or 0000 May 16 National Institute of Standards and Technology s Physics Laboratory Times of Day FAQs subkhnemux 20 September 2016 Susan Addington 25 August 2016 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 4 July 2008 subkhnemux 28 November 2008 prakasichthumomngyam PDF Royal Gazette no 17 p 206 29 July 1901 subkhnemux 2008 10 18 ithy