ตัวรับแอมพา เป็นตัวรับหรือรีเซพเตอร์ (receptor) สำหรับชื่อตัวรับแอมพานี้เกิดจากที่สารแอมพาสามารถจับตัวรับนี้ได้ด้วย ตัวรับนี้เป็นตัวรับชนิดที่ไม่ใช่ตัวรับเอ็นเอ็มดีเอที่จับอยู่กับช่องไอออน (ion channel) ตัวรับแอมพามีหน้าที่หลัก คือ ถ่ายทอดสัญญาณไซแนปติกทรานสมิชชั่นชนิดเร็ว (fast synaptic transmission) ในระบบประสาทส่วนกลาง (ซีเอ็นเอส)
ตัวรับแอมพา ประกอบด้วย (subunit) 4 ชนิด คือ (GluR1) , (GluR2) , (GluR3) และ (GluR4) ในตัวรับหนึ่งๆ เกิดขึ้นจากหน่วยย่อยเหล่านี้รวมกันสี่หน่วยที่เรียกว่า (tetramer) ส่วนใหญ่แล้วตัวรับแอมพามักเป็นชนิดที่เกิดจากกลูอาร์1 ทั้งสี่หน่วย หรือเกิดจากกลูอาร์4 ทั้งสี่หน่วย ซึ่งเรียกว่า (homotetramer) หรือชนิดที่เกิดจากกลูอาร์2 สองหน่วยและกลูอาร์3 สองหน่วย
ตัวรับแอมพามีโครงสร้างที่พาดผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (transmembrane domain) แบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดย ( N-terminus) อยู่ภายนอกเซลล์ ส่วน (C-terminus) อยู่ภายในเซลล์ เนื่องจากตัวรับแอมพาประกอบด้วยสี่หน่วยย่อยและในแต่ละหน่วยย่อยนั้นสามารถจับได้หนึ่งตำแหน่ง ดังนั้นตัวรับแอมพาหนึ่งตัวจะมีสารอะโกนิสต์มาจับได้ทั้งหมดสี่โมเลกุล ทั้งนี้ช่องไอออนจะเปิดได้เมื่อสารอะโกนิสต์มาจับที่ตัวรับตั้งแต่สองหน่วยย่อยขึ้นไป ทั้งนี้ไอออนที่สามารถผ่านตัวรับแอมพาเข้าไปในเซลล์ประสาทได้ คือ ไอออนโซเดียม โดยเกิดจากการทำงานของหน่วยย่อยกลูอาร์2
อ้างอิง
- Glutamate receptors: Structures and functions. University of Bristol Centre for Synaptic Plasticity [1] 2007-09-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
twrbaexmpha epntwrbhruxriesphetxr receptor sahrbchuxtwrbaexmphaniekidcakthisaraexmphasamarthcbtwrbniiddwy twrbniepntwrbchnidthiimichtwrbexnexmdiexthicbxyukbchxngixxxn ion channel twrbaexmphamihnathihlk khux thaythxdsyyanisaenptikthransmichchnchniderw fast synaptic transmission inrabbprasathswnklang siexnexs twrbaexmpha prakxbdwy subunit 4 chnid khux GluR1 GluR2 GluR3 aela GluR4 intwrbhnung ekidkhuncakhnwyyxyehlanirwmknsihnwythieriykwa tetramer swnihyaelwtwrbaexmphamkepnchnidthiekidcakkluxar1 thngsihnwy hruxekidcakkluxar4 thngsihnwy sungeriykwa homotetramer hruxchnidthiekidcakkluxar2 sxnghnwyaelakluxar3 sxnghnwy twrbaexmphamiokhrngsrangthiphadphaneyuxhumesll transmembrane domain aebngxxkepn 4 swn ody N terminus xyuphaynxkesll swn C terminus xyuphayinesll enuxngcaktwrbaexmphaprakxbdwysihnwyyxyaelainaetlahnwyyxynnsamarthcbidhnungtaaehnng dngnntwrbaexmphahnungtwcamisarxaoknistmacbidthnghmdsiomelkul thngnichxngixxxncaepididemuxsarxaoknistmacbthitwrbtngaetsxnghnwyyxykhunip thngniixxxnthisamarthphantwrbaexmphaekhaipinesllprasathid khux ixxxnosediym odyekidcakkarthangankhxnghnwyyxykluxar2xangxingGlutamate receptors Structures and functions University of Bristol Centre for Synaptic Plasticity 1 2007 09 15 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk