ดาวหางบีลา (อังกฤษ: Comet Biela) หรือชื่ออย่างเป็นทางการตามระบบการตั้งชื่อดาวหางคือ 3D/Biela เป็นดาวหางแบบมีคาบโคจรซึ่งค้นพบโดย วิลเลห์ม ฟอน บีลา ในปี ค.ศ. 1826 จึงได้ชื่อว่า "บีลา" ตามผู้ค้นพบ
เคยมีผู้สังเกตพบดาวหางนี้มาก่อนแล้ว คือ ชาร์ลส เมอสิเออร์ ในปี ค.ศ. 1772 และ ฌอง-หลุยส์ ปอนส์ ในปี ค.ศ. 1805 แต่วิลเลห์ม ฟอน บีลา เป็นผู้ค้นพบจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 1826 และสามารถคำนวณวงโคจรของมันออกมาได้ว่ามีคาบโคจรประมาณ 6.6 ปี นับเป็นดาวหางดวงที่สาม (หลังจากดาวหางฮัลเลย์และดาวหางเองเคอ) ที่มีการค้นพบคาบโคจร
เมื่อดาวหางกลับมาปรากฏอีกครั้งในปี ค.ศ. 1846 ผู้สังเกตการณ์พบว่าดาวหางแตกออกเป็นสองเสี่ยง หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1852 ชิ้นส่วนทั้งสองชิ้นพบอยู่ห่างกัน 1.5 ล้านไมล์ แต่หลังจากนั้นมันก็ไม่กลับมาให้เห็นอีกในรอบการปรากฏตัวปี 1859, 1865 และ 1872 แต่ในวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1872 มีการค้นพบฝนดาวตกสว่างไสว (ประมาณ 3,000 ดวงต่อชั่วโมง) ส่องสว่างมาจากบริเวณของท้องฟ้าที่ควรจะเป็นตำแหน่งซึ่งดาวหางเคลื่อนผ่านในเดือนกันยายน 1872 เวลานั้นเป็นวันที่โลกโคจรตัดผ่านเส้นทางโคจรของดาวหางพอดี ฝนดาวตกเหล่านี้ต่อมาได้ชื่อว่า "ฝนดาวตกแอนโดรเมดีดส์" หรือ "ฝนดาวตกบีลา" ดูเหมือนว่า นั่นจะเป็นสัญญาณแจ้งว่า ดาวหางได้แตกสลายไปเสียแล้ว มีการค้นพบฝนดาวตกเหล่านี้อีกหลายครั้งตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่เหลืออยู่ แต่ปัจจุบันได้จางหายไปหมดแล้ว
อ้างอิง
- Recreations in Astronomy by Henry White Warren D.D. 1886
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
dawhangbila xngkvs Comet Biela hruxchuxxyangepnthangkartamrabbkartngchuxdawhangkhux 3D Biela epndawhangaebbmikhabokhcrsungkhnphbody wilelhm fxn bila inpi kh s 1826 cungidchuxwa bila tamphukhnphbdawhangbila eduxnkumphaphnth kh s 1846 hlngcakaetkepnsxngswnimnan ekhymiphusngektphbdawhangnimakxnaelw khux charls emxsiexxr inpi kh s 1772 aela chxng hluys pxns inpi kh s 1805 aetwilelhm fxn bila epnphukhnphbcudikldwngxathitythisudemuxwnthi 27 kumphaphnth 1826 aelasamarthkhanwnwngokhcrkhxngmnxxkmaidwamikhabokhcrpraman 6 6 pi nbepndawhangdwngthisam hlngcakdawhanghlelyaeladawhangexngekhx thimikarkhnphbkhabokhcr emuxdawhangklbmapraktxikkhrnginpi kh s 1846 phusngektkarnphbwadawhangaetkxxkepnsxngesiyng hlngcaknninpi kh s 1852 chinswnthngsxngchinphbxyuhangkn 1 5 laniml aethlngcaknnmnkimklbmaihehnxikinrxbkarprakttwpi 1859 1865 aela 1872 aetinwnthi 27 phvscikayn kh s 1872 mikarkhnphbfndawtkswangisw praman 3 000 dwngtxchwomng sxngswangmacakbriewnkhxngthxngfathikhwrcaepntaaehnngsungdawhangekhluxnphanineduxnknyayn 1872 ewlannepnwnthiolkokhcrtdphanesnthangokhcrkhxngdawhangphxdi fndawtkehlanitxmaidchuxwa fndawtkaexnodremdids hrux fndawtkbila duehmuxnwa nncaepnsyyanaecngwa dawhangidaetkslayipesiyaelw mikarkhnphbfndawtkehlanixikhlaykhrngtlxdchwngkhriststwrrsthi 19 thiehluxxyu aetpccubnidcanghayiphmdaelwxangxingRecreations in Astronomy by Henry White Warren D D 1886 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk