ซูบัก (อินโดนีเซีย: Subak) คือชื่อของระบบการจัดการน้ำ (ชลประทาน) สำหรับนาข้าวบนเกาะบาหลี จังหวัดบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีการคิดค้นเป็นเวลานานกว่า 1,000 ปี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 9 สำหรับชาวบาหลี ระบบชลประทานบนเกาะนั้นไม่ง่ายที่จะจัดหาน้ำสำหรับพืชพรรณต่าง ๆ แต่น้ำถูกใช้ในการสร้างระบบนิเวศเทียม นาข้าวในบาหลีถูกสร้างรอบ ๆ วัด และการจัดสรรน้ำถูกสร้างโดยนักบวช ซูบักคือระบบชลประทานที่ยั่งยืนตามธรรมชาติซึ่งผูกสังคมเกษตรกรรมบาหลีเข้าด้วยกันภายในศูนย์ชุมชนของหมู่บ้านและวัดบาหลี ครอบคลุม 19,500 เฮกตาร์ การจัดการน้ำอยู่ภายใต้อำนาจหน้าที่ของนักบวชในวัดต่าง ๆ ซึ่งมีการฝึกฝนปรัชญาไตรหิตกรณะ (Tri Hita Karana) หรือความสัมพันธ์ของดินแดนระหว่างวิญญาณ โลกมนุษย์ และพระเจ้า ไตรหิตกรณะเกี่ยวข้องกับวิธีการโบราณตามอย่างในอินเดียโดยฤๅษีในศาสนาฮินดู
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของจังหวัดบาหลี : ระบบซูบัก หลักการตามปรัชญาไตรหิตกรณะ * | |
---|---|
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก | |
นาขั้นบันไดบาหลีเป็นส่วนหนึ่งของระบบชลประทานซูบัก | |
พิกัด | 8°15′25.8″S 115°24′27.9″E / 8.257167°S 115.407750°E |
(ประเทศ) | อินโดนีเซีย |
ภูมิภาค ** | เอเชียและแปซิฟิก |
ประเภท | มรดกทางวัฒนธรรม |
(เกณฑ์พิจารณา) | (ii), (iii), (v), (vi) |
อ้างอิง | 1194 |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 2555 (คณะกรรมการสมัยที่ 36) |
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก |
มรดกโลก
การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 36 เมื่อ พ.ศ. 2555 องค์การยูเนสโกขึ้นทะเบียน "ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของจังหวัดบาหลี : ระบบซูบัก หลักการตามปรัชญาไตรหิตกรณะ" ด้วย(ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา) ดังนี้
- (ii) - เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใดๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม
- (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
- (v) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของวัฒนธรรมมนุษย์ ขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งสถาปัตยกรรม วิธีการก่อสร้าง หรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งเสื่อมสลายได้ง่ายจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตามกาลเวลา
- (vi) - มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์
สมุดภาพ
- วัดปูราตามันอายุน (Pura Taman Ayun)
- รูปปั้นพ่นน้ำบาหลีในวัดโกอากาจะฮ์
อ้างอิง
- farming world-heritage listed[] thejakartapost.com
- Cultural Landscape of Bali Province: the Subak System as a Manifestation of the Tri Hita Karana Philosophy unesco.org
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
subk xinodniesiy Subak khuxchuxkhxngrabbkarcdkarna chlprathan sahrbnakhawbnekaabahli cnghwdbahli praethsxinodniesiy sungmikarkhidkhnepnewlanankwa 1 000 pi tngaetkhriststwrrsthi 9 sahrbchawbahli rabbchlprathanbnekaannimngaythicacdhanasahrbphuchphrrntang aetnathukichinkarsrangrabbniewsethiym nakhawinbahlithuksrangrxb wd aelakarcdsrrnathuksrangodynkbwch subkkhuxrabbchlprathanthiyngyuntamthrrmchatisungphuksngkhmekstrkrrmbahliekhadwyknphayinsunychumchnkhxnghmubanaelawdbahli khrxbkhlum 19 500 ehktar karcdkarnaxyuphayitxanachnathikhxngnkbwchinwdtang sungmikarfukfnprchyaitrhitkrna Tri Hita Karana hruxkhwamsmphnthkhxngdinaednrahwangwiyyan olkmnusy aelaphraeca itrhitkrnaekiywkhxngkbwithikarobrantamxyanginxinediyodyvisiinsasnahinduphumithsnwthnthrrmkhxngcnghwdbahli rabbsubk hlkkartamprchyaitrhitkrna aehlngmrdkolkodyyuensoknakhnbnidbahliepnswnhnungkhxngrabbchlprathansubkphikd8 15 25 8 S 115 24 27 9 E 8 257167 S 115 407750 E 8 257167 115 407750praeths xinodniesiyphumiphakh exechiyaelaaepsifikpraephthmrdkthangwthnthrrmeknthphicarna ii iii v vi xangxing1194prawtikarkhunthaebiynkhunthaebiyn2555 khnakrrmkarsmythi 36 chuxtamthiidkhunthaebiyninbychiaehlngmrdkolk phumiphakhthicdaebngodyyuensokmrdkolkkarprachumkhnakrrmkarmrdkolksmysamykhrngthi 36 emux ph s 2555 xngkhkaryuensokkhunthaebiyn phumithsnwthnthrrmkhxngcnghwdbahli rabbsubk hlkkartamprchyaitrhitkrna dwykhxkahndaelahlkeknthinkarphicarna dngni ii epnsingthimixiththiphlying phlkdnihekidkarphthnasubtxmaindankarxxkaebbthangsthaptykrrm xnusrnsthan pratimakrrm swn aelaphumithsn tlxdcnkarphthnasilpkrrmthiekiywkhxng hruxkarphthnakartngthinthankhxngmnusy sungidekidkhuninchwngewlaidewlahnung hruxbnphunthiid khxngolksungthrngiwsungwthnthrrm iii epnsingthiyunynthunghlkthankhxngwthnthrrmhruxxarythrrmthipraktihehnxyuinpccubnhruxwathisabsuyipaelw v epntwxyangxnoddednkhxngwthnthrrmmnusy khnbthrrmeniympraephniaehngsthaptykrrm withikarkxsrang hruxkartngthinthankhxngmnusy sungesuxmslayidngaycakphlkrathbcakkarepliynaeplngthangsngkhmaelawthnthrrmtamkalewla vi mikhwamkhidhruxkhwamechuxthiekiywkhxngodytrngkbehtukarn hruxmikhwamoddednyinginprawtisastrsmudphaphwdpuratamnxayun Pura Taman Ayun ruppnphnnabahliinwdokxakacahxangxingfarming world heritage listed lingkesiy thejakartapost com Cultural Landscape of Bali Province the Subak System as a Manifestation of the Tri Hita Karana Philosophy unesco org