บทความนี้ยังไม่ได้รับ คุณสามารถช่วยปรับปรุงแก้ไข โดยการเพิ่มหมวดหมู่ที่เหมาะสมลงในบทความนี้ เพื่อจัดระเบียบบทความที่เกี่ยวข้องกัน ดูเพิ่มที่ |
ซาวียะตุลอัรยาน (อาหรับ: زاویة العریان) เป็นเมืองใน ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างกีซากับ ทางตะวันตกของเมืองในพื้นที่ทะเลทราย มีซึ่งมีชื่อเดียวกัน และเกือบตรงไปทางทิศตะวันออกตรงข้ามแม่น้ำไนล์คือเมืองเมมฟิส ในซาวียะตุลอัรยานมีพีระมิดจำนวนสองแห่งและสุสานแมสตาบาจำนวนห้าแห่ง
ซาวียะตุลอัรยาน | |
---|---|
ซาวียะตุลอัรยาน ที่ตั้งในประเทศอียิปต์ | |
พิกัด: 29°54′N 31°12′E / 29.900°N 31.200°E | |
ประเทศ | อียิปต์ |
เขตเวลา | () |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | +3 |
พีระมิด
พีระมิดชั้น
พีระมิดสร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ที่สามแห่งอียิปต์ น่าจะถูกสร้างในช่วงรัชสมัยของฟาโรห์คาบา โดยที่พีระมิดดังกล่าวตั้งใจให้เป็นพีระมิดขั้นบันได ซึ่งมีขั้นบันไดประมาณห้าถึงเจ็ดขั้น ไม่ปรากฏชั้นหินนอกสุดที่คลุมพีระมิดไว้ ซึ่งบ่งบอกว่าพีระมิดนั้นยังสร้างไม่แล้วเสร็จ แผนผังของห้องใต้ดินมีลักษณะคล้ายกับพีระมิดฝัง ทางเดินที่นำไปสู่ด้านในมีห้องด้านข้าง 32 ห้องสำหรับจัดเก็บอุปกรณ์ฝังพระศพ
พีระมิดที่ยังไม่แล้วเสร็จ
พีระมิดที่ยังไม่แล้วเสร็จดังกล่าวเป็นของฟาโรห์ที่มีพระนามคลุมเครือ โดยส่วนที่ยังคงหลงเหลืออยู่ในปัจจุบันคือฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ใช้สำหรับสร้างแกนกลางของพีระมิด โลงหินแกรนิตสีชมพูถูกพบในคูน้ำที่ตัดผ่านโครงสร้าง ถึงแม้ว่าอาจจะมีอายุนับย้อนกลับไปถัดจากหลังช่วงการก่อสร้างก็ตาม มีข้อสงสัยว่ามีห้องใต้ดินอยู่จริง แต่การขุดค้นไม่สามารถทำได้ เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างนี้เป็นส่วนหนึ่งของเขตหวงห้ามทางทหาร สิ่งปลูกสร้างดลังกล่าวมีชื่อเรียกอีกว่า "พีระมิดทางเหนือ" ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ที่สี่แห่งอียิปต์
นครสุสาน
พื้นที่ของซาวียะตุลอัรยานล้อมรอบด้วยสุสานทั้งหมดจำนวนห้าแห่ง ซึ่งมีอายุตั้งแต่ราชวงศ์ที่หนึ่ง, ราชวงศ์ที่สอง, ราชวงศ์ที่สามตอนปลาย, ราชวงศ์ที่สิบแปด และยุคโรมัน ในบรรดาสุสานเหล่านี้ มีเพียงแห่งเดียวที่มีอายุถึงปลายราชวงศ์ที่สามเท่านั้นที่เป็นสุสานขนาดใหญ่ ซึ่งมีสุสานแมสตาบาที่สร้างจากอิฐโคลนจำนวนสี่แห่ง ไรส์เนอร์และฟิชเชอร์ตั้งข้อสังเกตว่าสุสานเหล่านนี้น่าจะเป็นนครสุสานที่ตั้งอยู่รอบพีระมิดของฟาโรห์ สุสานขนาดใหญ่นั้นเป็นของเหล่าเชื้อพระวงศ์และข้าราชบริพาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ห่างจากพีระมิดชั้นไปทางเหนือประมาณ 200 เมตร (660 ฟุต) มีแมสตาบาขนาดใหญ่ ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ "แมสตาบา Z500" ซึ่งค้นพบชามหินอ่อนจำนวนแปดใบที่ปรากฏเชเรคของฟาโรห์คาบา ไรส์เนอร์และฟิชเชอร์จึงสรุปว่า "ถ้าแมสตาบาเป็นของบุคคลที่เชื่อมโยงกับกษัตริย์ผู้สร้างพีระมิด ก็เป็นไปได้ว่าพระนามของกษัตริย์พระองค์นั้นคือคาบา" ความคิดเห็นดังกล่าวเป็นที่ยอมรับโดยนักอียิปต์วิทยาส่วนใหญ่ที่ถือว่าพีระมิดชั้นเป็นของฟาโรห์คาบา
ซาวียะตุลอัรยานในปัจจุบัน
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 พื้นที่ส่วนใหญ่ใกล้กับซาวียะตุลอัรยานถูกจำกัดไม่ให้เข้าถึงเนื่องจากเป็นฐานทัพทหาร การเข้าถึงพีระมิดถูกจำกัดการเข้าถึงมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1964 โดยไม่อนุญาตให้มีการขุดค้น มีการสร้างที่พักทหารทับพื้นที่สุสานเดิม และปล่องของพีระมิดที่ยังไม่แล้วเสร็จถูกใช้เป็นที่ทิ้งขยะ และสภาพของหลุมศพทั้งสองนั้นยังไม่ทราบอย่างแน่ชัดและอาจจะเข้าขั้นอันตราย
อ้างอิง
- Verner, Miroslav: The Pyramids: The Mystery, Culture, and Science of Egypt's Great Monuments. Grove Press. 2001 (1997). ISBN , p. 270.
- Rainer Stadelmann: Die ägyptischen Pyramiden. Vom Ziegelbau zum Weltwunder (= Kulturgeschichte der antiken Welt, Bd. 30). von Zabern, Mainz 1997, ISBN , p. 140-144.
- G.A. Reisner and C.S. Fisher: The Work of the Harvard University - Museum of Fine Arts Egyptian Expedition (pyramid of Zawiyet El Aryan. (= Bulletin of the Museum of Fine Arts (BMFA); vol. 9, no. 54), Boston 1911, pp. 54-59.
- Rainer Stadelmann: King Huni: His Monuments and His Place in the History of the Old Kingdom. In: Zahi A. Hawass, Janet Richards (Hrsg.): The Archaeology and Art of Ancient Egypt. Essays in Honor of David B. O’Connor, vol. II. Conceil Suprême des Antiquités de l’Égypte, Kairo 2007, p. 425–431.
- Roman Gundacker: Zur Struktur der Pyramidennamen der 4. Dynastie. In: Sokar, vol. 18, 2009. ISSN 1438-7956, p. 26–30.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngimidrbkarcdhmwdhmu khunsamarthchwyprbprungaekikh odykarephimhmwdhmuthiehmaasmlnginbthkhwamni ephuxcdraebiybbthkhwamthiekiywkhxngkn duephimthi okhrngkarcdhmwdhmu sawiyatulxryan xahrb زاویة العریان epnemuxngin sungtngxyurahwangkisakb thangtawntkkhxngemuxnginphunthithaelthray misungmichuxediywkn aelaekuxbtrngipthangthistawnxxktrngkhamaemnainlkhuxemuxngemmfis insawiyatulxryanmiphiramidcanwnsxngaehngaelasusanaemstabacanwnhaaehngsawiyatulxryansawiyatulxryanthitnginpraethsxiyiptphikd 29 54 N 31 12 E 29 900 N 31 200 E 29 900 31 200praeths xiyiptekhtewlaUTC 2 vdurxn ewlaxxmaesng 3phiramidphiramidchn phiramidsrangkhuninsmyrachwngsthisamaehngxiyipt nacathuksranginchwngrchsmykhxngfaorhkhaba odythiphiramiddngklawtngicihepnphiramidkhnbnid sungmikhnbnidpramanhathungecdkhn impraktchnhinnxksudthikhlumphiramidiw sungbngbxkwaphiramidnnyngsrangimaelwesrc aephnphngkhxnghxngitdinmilksnakhlaykbphiramidfng thangedinthinaipsudaninmihxngdankhang 32 hxngsahrbcdekbxupkrnfngphrasph phiramidthiyngimaelwesrc phiramidthiyngimaelwesrcdngklawepnkhxngfaorhthimiphranamkhlumekhrux odyswnthiyngkhnghlngehluxxyuinpccubnkhuxthansiehliymctursthiichsahrbsrangaeknklangkhxngphiramid olnghinaekrnitsichmphuthukphbinkhunathitdphanokhrngsrang thungaemwaxaccamixayunbyxnklbipthdcakhlngchwngkarkxsrangktam mikhxsngsywamihxngitdinxyucring aetkarkhudkhnimsamarththaid enuxngcakpccubnokhrngsrangniepnswnhnungkhxngekhthwnghamthangthhar singpluksrangdlngklawmichuxeriykxikwa phiramidthangehnux sungsrangkhuninsmyrachwngsthisiaehngxiyiptnkhrsusanphunthikhxngsawiyatulxryanlxmrxbdwysusanthnghmdcanwnhaaehng sungmixayutngaetrachwngsthihnung rachwngsthisxng rachwngsthisamtxnplay rachwngsthisibaepd aelayukhormn inbrrdasusanehlani miephiyngaehngediywthimixayuthungplayrachwngsthisamethannthiepnsusankhnadihy sungmisusanaemstabathisrangcakxithokhlncanwnsiaehng irsenxraelafichechxrtngkhxsngektwasusanehlanninacaepnnkhrsusanthitngxyurxbphiramidkhxngfaorh susankhnadihynnepnkhxngehlaechuxphrawngsaelakharachbriphar odyechphaaxyangying hangcakphiramidchnipthangehnuxpraman 200 emtr 660 fut miaemstabakhnadihy sungpccubnruckkninchux aemstaba Z500 sungkhnphbchamhinxxncanwnaepdibthipraktecherkhkhxngfaorhkhaba irsenxraelafichechxrcungsrupwa thaaemstabaepnkhxngbukhkhlthiechuxmoyngkbkstriyphusrangphiramid kepnipidwaphranamkhxngkstriyphraxngkhnnkhuxkhaba khwamkhidehndngklawepnthiyxmrbodynkxiyiptwithyaswnihythithuxwaphiramidchnepnkhxngfaorhkhabasawiyatulxryaninpccubntngaetpi kh s 1960 phunthiswnihyiklkbsawiyatulxryanthukcakdimihekhathungenuxngcakepnthanthphthhar karekhathungphiramidthukcakdkarekhathungmatngaetpi kh s 1964 odyimxnuyatihmikarkhudkhn mikarsrangthiphkthharthbphunthisusanedim aelaplxngkhxngphiramidthiyngimaelwesrcthukichepnthithingkhya aelasphaphkhxnghlumsphthngsxngnnyngimthrabxyangaenchdaelaxaccaekhakhnxntrayxangxingVerner Miroslav The Pyramids The Mystery Culture and Science of Egypt s Great Monuments Grove Press 2001 1997 ISBN 0 8021 3935 3 p 270 Rainer Stadelmann Die agyptischen Pyramiden Vom Ziegelbau zum Weltwunder Kulturgeschichte der antiken Welt Bd 30 von Zabern Mainz 1997 ISBN 3 8053 1142 7 p 140 144 G A Reisner and C S Fisher The Work of the Harvard University Museum of Fine Arts Egyptian Expedition pyramid of Zawiyet El Aryan Bulletin of the Museum of Fine Arts BMFA vol 9 no 54 Boston 1911 pp 54 59 Rainer Stadelmann King Huni His Monuments and His Place in the History of the Old Kingdom In Zahi A Hawass Janet Richards Hrsg The Archaeology and Art of Ancient Egypt Essays in Honor of David B O Connor vol II Conceil Supreme des Antiquites de l Egypte Kairo 2007 p 425 431 Roman Gundacker Zur Struktur der Pyramidennamen der 4 Dynastie In Sokar vol 18 2009 ISSN 1438 7956 p 26 30