ความต้านทานไฟฟ้า (อังกฤษ: electrical resistance) ของ ตัวนำไฟฟ้า เป็นตัวชี้วัดของความยากลำบากในการที่จะผ่าน กระแสไฟฟ้า เข้าไปในตัวนำนั้น ปริมาณที่ตรงกันข้ามคือ การนำไฟฟ้า (อังกฤษ: electrical conductance) เป็นความสะดวกที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ความต้านทานไฟฟ้าเปรียบเหมือน แรงเสียดทาน ทางเครื่องกล หน่วย SI ของความต้านทานไฟฟ้าจะเป็น โอห์ม สัญลักษณ์ ในขณะที่การนำไฟฟ้าไฟฟ้ามีหน่วยเป็น (S)
วัตถุที่มีหน้าตัดสม่ำเสมอจะมีความต้านทานเป็นสัดส่วนกับ และ ความยาวของมัน และแปรผกผันกับพื้นที่หน้าตัดของมัน วัสดุทุกชนิดจะแสดงความต้านทานเสมอยกเว้น (อังกฤษ: superconductor) ซึ่งมีความต้านทานของศูนย์
ความต้านทาน (R) ของวัตถุจะถูกกำหนดให้เป็นอัตราส่วนของ แรงดันไฟฟ้า ตกคล่อมตัวมัน (V) ต่อกระแสที่ไหลผ่านตัวมัน (I) ในขณะที่การนำไฟฟ้า (G) เป็นตรงกันข้าม ตามสมการต่อไปนี้:
สำหรับวัสดุและเงื่อนไขที่หลากหลาย V และ I จะเป็นสัดส่วนโดยตรงซึ่งกันและกัน ดังนั้น R และ G จึงเป็นค่า (แม้ว่าพวกมันยังขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ ก็ตาม เช่นอุณหภูมิหรือความเครียด) สัดส่วนนี้จะเรียกว่า กฎของโอห์ม และวัสดุที่เป็นไปตามกฏนี้จะเรียกว่า วัสดุ โอห์ม (อังกฤษ: ohmic material)
ในกรณีอื่น ๆ เช่น ไดโอด หรือ แบตเตอรี่ V และ I จะ ไม่ได้ เป็นสัดส่วนโดยตรงกัน อัตราส่วน V/I บางครั้งก็ยังคงเป็นประโยชน์และถูกเรียกว่า "ความต้านทานสถิตย์" ในสถานการณ์อื่น ๆ อนุพันธ์ อาจจะมีประโยชน์มากที่สุด ค่านี้จะเรียกว่า "ความต้านทานดิฟเฟอเรนเชียล" (อังกฤษ: differential resistance)
บทนำ
ในการอุปมาเหมือนไฮดรอลิก กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวด (หรือ ตัวต้านทาน) เป็นเหมือนน้ำที่ไหลผ่านท่อ และ แรงดัน ตกคร่อมเส้นลวดเป็นเหมือน ความดัน ตกคร่อมที่ใช้ผลักดันน้ำให้ไหลไปตามท่อ การนำไฟฟ้าจะเป็นสัดส่วนกับปริมาณการไหลสำหรับความดันที่กำหนดให้ : และความต้านทานไฟฟ้าจะเป็นสัดส่วนกับปริมาณของความดันที่จำเป็นเพื่อให้มีการไหลที่กำหนด : (การนำไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้าเป็น )
แรงดันไฟฟ้า ตกคร่อม (นั่นคือความแตกต่างระหว่างแรงดันไฟฟ้าในด้านหนึ่งของตัวต้านทานกับแรงดันไฟฟ้าอีกด้านหนึ่ง) ไม่ใช่ ศักย์ไฟฟ้า จะสร้างแรงผลักดันที่จะผลักดันกระแสให้ไหลผ่านตัวต้านทาน ในระบบไฮดรอลิก มันคล้ายกัน นั่นคือความดันที่ แตกต่างกัน ระหว่างสองด้านของท่อ ไม่ใช่ตัวความดันเอง จะกำหนดปริมาณการไหลผ่านลงท่อ ยกตัวอย่างเช่นมันอาจจะมีแรงดันน้ำขนาดใหญ่ด้านบนของท่อซึ่งพยายามที่จะผลักดันน้ำผ่านลงท่อ แต่ก็อาจจะมีแรงดันน้ำที่มีขนาดใหญ่เท่าเทียมกันด้านล่างท่อซึ่งก็พยายามที่จะผลักดันน้ำกลับขึ้นผ่านท่อ หากแรงดันเหล่านี้มีค่าเท่ากัน ก็จะไม่มีน้ำไหล (ในภาพขวาที่แรงดันน้ำด้านล่างท่อมีค่าเป็นศูนย์.)
ความต้านทานและการนำกระแสไฟฟ้าของเส้นลวด, ตัวต้านทานหรือองค์ประกอบอื่น ๆ จะถูกกำหนดด้วยคุณสมบัติสองอย่างนี้เป็นส่วนใหญ่:
- รูปร่างทางเรขาคณิต และ
- วัสดุ
รูปร่างทางเรขาคณิตเป็นสิ่งสำคัญเพราะมันจะยากกว่าที่จะผลักดันน้ำผ่านท่อที่ยาวและแคบกว่าท่อกว้างและสั้น ในทางเดียวกันลวดทองแดงที่ยาวและบางจะมีความต้านทานสูงกว่า (การนำไฟฟ้าต่ำกว่า) ลวดทองแดงหนาและสั้น
วัสดุก็มีความสำคัญเช่นกัน ท่อที่เต็มไปด้วยเส้นผมจะจำกัดการไหลของน้ำมากกว่าท่อที่สะอาดที่มีรูปร่างและขนาดเดียวกัน ในทำนองเดียวกัน อิเล็กตรอน สามารถไหลได้อย่างอิสระและง่ายดายผ่านสาย ทองแดง แต่ไม่สามารถไหลได้อย่างง่ายดายผ่านลวด เหล็ก ที่มีรูปร่างและขนาดเดียวกัน และที่สำคัญกระแสไม่สามารถไหลได้อย่างสิ้นเชิงผ่าน เช่น ยาง โดยไม่ต้องคำนึงถึงรูปร่างของมัน ความแตกต่างระหว่างทองแดง, เหล็ก, และยางจะเกี่ยวข้องกับโครงสร้างโมเลกุลและรูปแบบการเรียงตัวของ อิเล็กตรอน ของพวกมัน และมีการวัดโดยคุณสมบัติที่เรียกว่า สภาพต้านทาน
นอกเหนือไปจากรูปทรงเรขาคณิตและวัสดุ ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลต่อความต้านทานและการนำไฟฟ้า เช่นอุณหภูมิ; ดูด้านล่าง
สารที่กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านได้จะเรียกว่า ตัวนำ ชิ้นส่วนของวัสดุตัวนำที่มีค่าความต้านทานเฉพาะจะถูกใช้งานในวงจรไฟฟ้าเพื่อจุดประสงค์บางอย่าง จะถูกเรียกว่า ตัวต้านทาน ตัวนำจะทำจากวัสดุที่มี สภาพนำ สูงเช่นโลหะ, โดยเฉพาะอย่างยิ่งทองแดงและอะลูมิเนียม ในทางตรงกันข้าม ตัวต้านทานจะทำจากวัสดุหลากหลายชนิดขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่นค่าความต้านทานที่ต้องการ, ปริมาณของพลังงานที่จะต้องการให้มีการกระจาย, ความแม่นยำ, และค่าใช้จ่าย
กฎของโอห์ม
แรงดันไฟฟ้า (V) , กระแสไฟฟ้า (I) และความต้านทาน (R)
ความต้านทานของวัตถุ
ความต้านทานไฟฟ้ากระแสตรง
เมื่อไฟฟ้ากระแสตรงไหลผ่านวัตถุหรือสสารที่มีโครงสร้างเป็นเนื้อเดียวกันอย่างสม่ำเสมอทั้งชิ้น (เอกพันธ์ หรือ homogeneous) กระแสไฟฟ้าจะกระจายทั่วหน้าตัดของวัตถุหรือสสารเหล่านั้น เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมิติทางกายภาพและความต้านทานไฟฟ้าของวัตถุได้เป็น
โดย
- l คือ ความยาวของตัวนำ มีหน่วยเป็นเมตร(m)
- A คือ พื้นที่หน้าตัดของตัวนำ มีหน่วยเป็นตารางเมตร(m2)
- ρ (Greek: rho) คือ สภาพต้านทานไฟฟ้าของสสาร มีหน่วยเป็นโอห์ม-เมตร(Ω.m)
ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับ
มื่อไฟฟ้ากระแสสลับไหลผ่านวัตถุหรือสสารลักษณะสมบัติของกระแสที่ไหลผ่านวัตถุหรือสสารเหล่านั้นย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามแต่ละชนิดของวัตถุหรือสสารเหล่านั้น กระแสที่ไหลผ่านจึงไม่เป็นเพียงกระแสนำ (อังกฤษ: Conduction Current) แต่เพียงอย่างเดียวดังเช่นวงจรไฟฟ้ากระแสตรง มันยังประกอบไปด้วยกระแสพา (อังกฤษ: Impressed Current) และกระแสแทนที่ (อังกฤษ: Displacement Current) ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับยังคงเป็นปริมาณที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันและกระแสที่ไหลผ่านวัตถุหรือสสารไดๆ แต่ปริมาณดังกล่าวมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่เพิ่มขึ้นจึงเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ที่แตกต่างกับความต้านทานไฟฟ้ากระแสตรงด้วยตัวอักษรโรมันคือ Z ค่าดังกล่าวปกติเป็นปริมาณเชิงซ้อนที่ส่วนประกอบที่เป็นจินตภาพไม่เท่ากับศูนย์
อ้างอิง
- Forbes T. Brown (2006). Engineering System Dynamics. CRC Press. p. 43. ISBN .
- Kenneth L. Kaiser (2004). Electromagnetic Compatibility Handbook. CRC Press. pp. 13–52. ISBN .
- C. A. Balanis., "Advanced Engineering Electromagnetics.," John wiley & sons, 1989, Canada, , p-7
- R. F. Harrington., "Time-Harmonic Electromagnetic Fields.," IEEE Press, 2001, Reissued original 1961, New York, , p-7.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamtanthaniffa xngkvs electrical resistance khxng twnaiffa epntwchiwdkhxngkhwamyaklabakinkarthicaphan kraaesiffa ekhaipintwnann primanthitrngknkhamkhux karnaiffa xngkvs electrical conductance epnkhwamsadwkthiyxmihkraaesiffaihlphan khwamtanthaniffaepriybehmuxn aerngesiydthan thangekhruxngkl hnwy SI khxngkhwamtanthaniffacaepn oxhm sylksn inkhnathikarnaiffaiffamihnwyepn S wtthuthimihnatdsmaesmxcamikhwamtanthanepnsdswnkb aela khwamyawkhxngmn aelaaeprphkphnkbphunthihnatdkhxngmn wsduthukchnidcaaesdngkhwamtanthanesmxykewn xngkvs superconductor sungmikhwamtanthankhxngsuny khwamtanthan R khxngwtthucathukkahndihepnxtraswnkhxng aerngdniffa tkkhlxmtwmn V txkraaesthiihlphantwmn I inkhnathikarnaiffa G epntrngknkham tamsmkartxipni R VI G IV 1R displaystyle R V over I qquad G I over V frac 1 R sahrbwsduaelaenguxnikhthihlakhlay V aela I caepnsdswnodytrngsungknaelakn dngnn R aela G cungepnkha aemwaphwkmnyngkhunxyukbpccyxun ktam echnxunhphumihruxkhwamekhriyd sdswnnicaeriykwa kdkhxngoxhm aelawsduthiepniptamktnicaeriykwa wsdu oxhm xngkvs ohmic material inkrnixun echn idoxd hrux aebtetxri V aela I ca imid epnsdswnodytrngkn xtraswn V I bangkhrngkyngkhngepnpraoychnaelathukeriykwa khwamtanthansthity insthankarnxun xnuphnth dVdI displaystyle frac dV dI xaccamipraoychnmakthisud khanicaeriykwa khwamtanthandifefxernechiyl xngkvs differential resistance bthnakarichrabbihdrxlikmaepriybethiybrahwangkraaesiffathiihlphanwngcrkbnathiihlphanthx emuxthx say thietimetmdwyesnphm khwa mntxngichkhwamdnkhnadihykwaephuxihekidkarihlkhxngnaethakn karphlkdnkraaesiffaphankhwamtanthanthimikhnadihyepnehmuxnkarphlkdnnaphanthxthixudtndwyesnphm mntxngmikarphlkdnkhnadihykwa aerngekhluxniffa ephuxphlkdnihmikarihlediywkn kraaesiffa inkarxupmaehmuxnihdrxlik kraaesiffathiihlphanesnlwd hrux twtanthan epnehmuxnnathiihlphanthx aela aerngdn tkkhrxmesnlwdepnehmuxn khwamdn tkkhrxmthiichphlkdnnaihihliptamthx karnaiffacaepnsdswnkbprimankarihlsahrbkhwamdnthikahndih G I displaystyle G propto I aelakhwamtanthaniffacaepnsdswnkbprimankhxngkhwamdnthicaepnephuxihmikarihlthikahnd R V displaystyle R propto V karnaiffaaelakhwamtanthaniffaepn aerngdniffa tkkhrxm nnkhuxkhwamaetktangrahwangaerngdniffaindanhnungkhxngtwtanthankbaerngdniffaxikdanhnung imich skyiffa casrangaerngphlkdnthicaphlkdnkraaesihihlphantwtanthan inrabbihdrxlik mnkhlaykn nnkhuxkhwamdnthi aetktangkn rahwangsxngdankhxngthx imichtwkhwamdnexng cakahndprimankarihlphanlngthx yktwxyangechnmnxaccamiaerngdnnakhnadihydanbnkhxngthxsungphyayamthicaphlkdnnaphanlngthx aetkxaccamiaerngdnnathimikhnadihyethaethiymkndanlangthxsungkphyayamthicaphlkdnnaklbkhunphanthx hakaerngdnehlanimikhaethakn kcaimminaihl inphaphkhwathiaerngdnnadanlangthxmikhaepnsuny khwamtanthanaelakarnakraaesiffakhxngesnlwd twtanthanhruxxngkhprakxbxun cathukkahnddwykhunsmbtisxngxyangniepnswnihy ruprangthangerkhakhnit aela wsdu ruprangthangerkhakhnitepnsingsakhyephraamncayakkwathicaphlkdnnaphanthxthiyawaelaaekhbkwathxkwangaelasn inthangediywknlwdthxngaedngthiyawaelabangcamikhwamtanthansungkwa karnaiffatakwa lwdthxngaednghnaaelasn wsdukmikhwamsakhyechnkn thxthietmipdwyesnphmcacakdkarihlkhxngnamakkwathxthisaxadthimiruprangaelakhnadediywkn inthanxngediywkn xielktrxn samarthihlidxyangxisraaelangaydayphansay thxngaedng aetimsamarthihlidxyangngaydayphanlwd ehlk thimiruprangaelakhnadediywkn aelathisakhykraaesimsamarthihlidxyangsinechingphan echn yang odyimtxngkhanungthungruprangkhxngmn khwamaetktangrahwangthxngaedng ehlk aelayangcaekiywkhxngkbokhrngsrangomelkulaelarupaebbkareriyngtwkhxng xielktrxn khxngphwkmn aelamikarwdodykhunsmbtithieriykwa sphaphtanthan nxkehnuxipcakrupthrngerkhakhnitaelawsdu yngmipccyxun thimixiththiphltxkhwamtanthanaelakarnaiffa echnxunhphumi dudanlangtwnaiffaaelatwtanthantwtanthan mikha 6 5 MW tamthirabuiwody sifa siekhiyw sida siehluxng twtanthannicaichtwaepr 4 aethbkhxngrhssiephuxihaetlaaethbaethn 6 5 0 X104 epn 6500000 W samarthnamaichinkartrwcsxbkhani sarthikraaesiffasamarthihlphanidcaeriykwa twna chinswnkhxngwsdutwnathimikhakhwamtanthanechphaacathukichnganinwngcriffaephuxcudprasngkhbangxyang cathukeriykwa twtanthan twnacathacakwsduthimi sphaphna sungechnolha odyechphaaxyangyingthxngaedngaelaxalumieniym inthangtrngknkham twtanthancathacakwsduhlakhlaychnidkhunxyukbpccytang echnkhakhwamtanthanthitxngkar primankhxngphlngnganthicatxngkarihmikarkracay khwamaemnya aelakhaichcaykdkhxngoxhmaerngdniffa V kraaesiffa I aelakhwamtanthan R R VI displaystyle R V over I khwamtanthankhxngwtthukhwamtanthaniffakraaestrng emuxiffakraaestrngihlphanwtthuhruxssarthimiokhrngsrangepnenuxediywknxyangsmaesmxthngchin exkphnth hrux homogeneous kraaesiffacakracaythwhnatdkhxngwtthuhruxssarehlann erasamarthaesdngkhwamsmphnthrahwangmitithangkayphaphaelakhwamtanthaniffakhxngwtthuidepn R l rA displaystyle R l cdot rho over A ody l khux khwamyawkhxngtwna mihnwyepnemtr m A khux phunthihnatdkhxngtwna mihnwyepntarangemtr m2 r Greek rho khux sphaphtanthaniffakhxngssar mihnwyepnoxhm emtr W m khwamtanthaniffakraaesslb muxiffakraaesslbihlphanwtthuhruxssarlksnasmbtikhxngkraaesthiihlphanwtthuhruxssarehlannyxmepliynaeplngiptamaetlachnidkhxngwtthuhruxssarehlann kraaesthiihlphancungimepnephiyngkraaesna xngkvs Conduction Current aetephiyngxyangediywdngechnwngcriffakraaestrng mnyngprakxbipdwykraaespha xngkvs Impressed Current aelakraaesaethnthi xngkvs Displacement Current khwamtanthaniffakraaesslbyngkhngepnprimanthiaesdngkhwamsmphnthrahwangaerngdnaelakraaesthiihlphanwtthuhruxssarid aetprimandngklawmikhwamsmphnthekiywkhxngkbtwaeprthiephimkhuncungekhiynaethndwysylksnthiaetktangkbkhwamtanthaniffakraaestrngdwytwxksrormnkhux Z khadngklawpktiepnprimanechingsxnthiswnprakxbthiepncintphaphimethakbsunyxangxingForbes T Brown 2006 Engineering System Dynamics CRC Press p 43 ISBN 978 0 8493 9648 9 Kenneth L Kaiser 2004 Electromagnetic Compatibility Handbook CRC Press pp 13 52 ISBN 978 0 8493 2087 3 C A Balanis Advanced Engineering Electromagnetics John wiley amp sons 1989 Canada ISBN 978 0 471 62194 2 p 7 R F Harrington Time Harmonic Electromagnetic Fields IEEE Press 2001 Reissued original 1961 New York ISBN 0 471 20806 X p 7 bthkhwamwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk