ในวิชาฟิสิกส์ รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (อังกฤษ: electromagnetic radiation) หมายถึงคลื่น (หรือควอนตัมโฟตอน) ของที่แผ่ผ่านปริภูมิโดยพาพลังงานจากการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า
โดยคลาสสิก รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็นการสั่นประสานของสนามไฟฟ้าและแม่เหล็กซึ่งแผ่ผ่านสุญญากาศด้วยความเร็วแสง การสั่นของสนามทั้งสองนี้ตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศทางของการแผ่พลังงานและคลื่น ทำให้เกิดคลื่นตามขวาง แนวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเปล่งจากแหล่งกำเนิดจุด (เช่น หลอดไฟ) เป็นทรงกลม ตำแหน่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถจำแนกลักษณะได้โดยความถี่ของการสั่นหรือความยาวคลื่น สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้ามีคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสงที่มองเห็นได้ รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์และรังสีแกมมา โดยเรียงความถี่จากน้อยไปมากและความยาวคลื่นจากมากไปน้อย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดเมื่ออนุภาคมีประจุถูกเร่ง แล้วคลื่นเหล่านี้จะสามารถมีอันตรกิริยากับอนุภาคมีประจุอื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพาพลังงาน โมเมนตัม และ โมเมนตัมเชิงมุม จากอนุภาคแหล่งกำเนิดและสามารถส่งผ่านคุณสมบัติเหล่านี้แก่สสารซึ่งไปทำอันตรกิริยาด้วย ควอนตัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรียก โฟตอน ซึ่งมีมวลนิ่งเป็นศูนย์ แต่พลังงานหรือมวลรวม (โดยสัมพัทธ์) สมมูลไม่เป็นศูนย์ ฉะนั้นจึงยังได้รับผลจากความโน้มถ่วง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าสัมพันธ์กับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเหล่านั้นซึ่งสามารถแผ่ตนเองได้โดยปราศจากอิทธิพลต่อเนื่องของประจุเคลื่อนที่ที่ผลิตมัน เพราะรังสีนั้นมีระยะห่างเพียงพอจากประจุเหล่านั้นแล้ว ฉะนั้น บางทีจึงเรียกรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าว่าสนามไกล ในภาษานี้สนามใกล้หมายถึงสนามแม่เหล็กไฟฟ้าใกล้ประจุและกระแสที่ผลิตมันโดยตรง โดยเจาะจงคือ ปรากฏการณ์การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและการเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต
ในทฤษฎีควอนตัมแม่เหล็กไฟฟ้า รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยโฟตอน อนุภาคมูลฐานซึ่งทำให้เกิดอันตรกิริยาแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งสิ้น ฤทธิ์ควอนตัมทำให้เกิดแหล่งรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าเพิ่ม เช่น การส่งผ่านอิเล็กตรอนไประดับพลังงานต่ำกว่าในอะตอมและการแผ่รังสีวัตถุดำ โฟตอนความถี่สูงขึ้นจะมีพลังงานมากขึ้น ความสัมพันธ์นี้เป็นไปตามกฎของพลังค์ E = hν โดยที่ E คือ พลังงานต่อโปรตอน ν คือ ความถี่ของโฟตอน และ h คือ ค่าคงที่ของพลังค์ ตัวอย่างเช่น โฟตอนรังสีแกมมาหนึ่งโฟตอน อาจพาพลังงาน ~100,000 เท่าของโฟตอนหนึ่งโฟตอนของแสงที่มองเห็นได้
ผลของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ต่อสารประกอบเคมีและสิ่งมีชีวิตขึ้นอยู่กับพลังงานและความถี่ของรังสี รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่มองเห็นได้หรือความถี่ต่ำ (คือ แสงที่มองเห็นได้ อินฟราเรด ไมโครเวฟ และ คลื่นวิทยุ) เรียก รังสีไม่แตกตัวเป็นไอออน (non-ionizing radiation) เพราะโฟตอนของมันเดี่ยว ๆ ไม่มีพลังงานเพียงพอทำให้อะตอมหรือโมเลกุลกลายเป็นไอออน ผลของรังสีเหล่านี้ต่อระบบเคมีและเนื้อเยื่อมีชีวิตส่วนใหญ่เกิดจากฤทธิ์ความร้อนจากการส่งผ่านพลังงานรวมของหลายโฟตอน ในทางตรงข้าม รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ และ รังสีแกมมา เรียก รังสีแตกตัวเป็นไอออน (ionizing radiation) เพราะแต่ละอะตอมความถี่สูงนั้นพาพลังงานเพียงพอทำให้โมเลกุลแตกตัวเป็นไอออนหรือสลายพันธะเคมี รังสีเหล่านี้มีความสามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีและความเสียหายต่อเซลล์มีชีวิตนอกเหนือจากผลของความร้อนธรรมดาและอาจเป็นภัยถึงชีวิตได้
อ้างอิง
- Purcell and Morin, Harvard University. (2013). Electricity and Magnetism, 820p (3rd ed.). Cambridge University Press, New York. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inwichafisiks rngsiaemehlkiffa xngkvs electromagnetic radiation hmaythungkhlun hruxkhwxntmoftxn khxngthiaephphanpriphumiodyphaphlngngancakkaraephrngsiaemehlkiffa odykhlassik rngsiaemehlkiffa prakxbdwy khlunaemehlkiffa sungepnkarsnprasankhxngsnamiffaaelaaemehlksungaephphansuyyakasdwykhwamerwaesng karsnkhxngsnamthngsxngnitngchakknaelatngchakkbthisthangkhxngkaraephphlngnganaelakhlun thaihekidkhluntamkhwang aenwkhlunkhxngkhlunaemehlkiffaeplngcakaehlngkaenidcud echn hlxdif epnthrngklm taaehnngkhxngkhlunaemehlkiffainsepktrmaemehlkiffasamarthcaaenklksnaidodykhwamthikhxngkarsnhruxkhwamyawkhlun sepktrmaemehlkiffamikhlunwithyu imokhrewf rngsixinfraerd aesngthimxngehnid rngsixltraiwoxelt rngsiexksaelarngsiaekmma odyeriyngkhwamthicaknxyipmakaelakhwamyawkhluncakmakipnxy khlunaemehlkiffaekidemuxxnuphakhmipracuthukerng aelwkhlunehlanicasamarthmixntrkiriyakbxnuphakhmipracuxun khlunaemehlkiffaphaphlngngan omemntm aela omemntmechingmum cakxnuphakhaehlngkaenidaelasamarthsngphankhunsmbtiehlaniaekssarsungipthaxntrkiriyadwy khwxntmkhxngkhlunaemehlkiffaeriyk oftxn sungmimwlningepnsuny aetphlngnganhruxmwlrwm odysmphthth smmulimepnsuny channcungyngidrbphlcakkhwamonmthwng rngsiaemehlkiffasmphnthkbkhlunaemehlkiffaehlannsungsamarthaephtnexngidodyprascakxiththiphltxenuxngkhxngpracuekhluxnthithiphlitmn ephraarngsinnmirayahangephiyngphxcakpracuehlannaelw chann bangthicungeriykrngsiaemehlkiffawasnamikl inphasanisnamiklhmaythungsnamaemehlkiffaiklpracuaelakraaesthiphlitmnodytrng odyecaacngkhux praktkarnkarehniywnaaemehlkiffaaelakarehniywnaiffasthit inthvsdikhwxntmaemehlkiffa rngsiaemehlkiffaprakxbdwyoftxn xnuphakhmulthansungthaihekidxntrkiriyaaemehlkiffathngsin vththikhwxntmthaihekidaehlngrngsiaemehlkiffaephim echn karsngphanxielktrxnipradbphlngngantakwainxatxmaelakaraephrngsiwtthuda oftxnkhwamthisungkhuncamiphlngnganmakkhun khwamsmphnthniepniptamkdkhxngphlngkh E hn odythi E khux phlngngantxoprtxn n khux khwamthikhxngoftxn aela h khux khakhngthikhxngphlngkh twxyangechn oftxnrngsiaekmmahnungoftxn xacphaphlngngan 100 000 ethakhxngoftxnhnungoftxnkhxngaesngthimxngehnid phlkhxngrngsiaemehlkiffa txsarprakxbekhmiaelasingmichiwitkhunxyukbphlngnganaelakhwamthikhxngrngsi rngsiaemehlkiffathimxngehnidhruxkhwamthita khux aesngthimxngehnid xinfraerd imokhrewf aela khlunwithyu eriyk rngsiimaetktwepnixxxn non ionizing radiation ephraaoftxnkhxngmnediyw immiphlngnganephiyngphxthaihxatxmhruxomelkulklayepnixxxn phlkhxngrngsiehlanitxrabbekhmiaelaenuxeyuxmichiwitswnihyekidcakvththikhwamrxncakkarsngphanphlngnganrwmkhxnghlayoftxn inthangtrngkham rngsixltraiwoxelt rngsiexks aela rngsiaekmma eriyk rngsiaetktwepnixxxn ionizing radiation ephraaaetlaxatxmkhwamthisungnnphaphlngnganephiyngphxthaihomelkulaetktwepnixxxnhruxslayphnthaekhmi rngsiehlanimikhwamsamarththaihekidptikiriyaekhmiaelakhwamesiyhaytxesllmichiwitnxkehnuxcakphlkhxngkhwamrxnthrrmdaaelaxacepnphythungchiwitidxangxingPurcell and Morin Harvard University 2013 Electricity and Magnetism 820p 3rd ed Cambridge University Press New York ISBN 978 1 107 01402 2