บทความนี้ไม่มีจาก |
การอ้างเหตุผลแนวทแยงของคันทอร์ (อังกฤษ: Cantor's diagonal argument) เป็นวิธีของเกออร์ค คันทอร์ ที่แสดงให้เห็นว่า จำนวนจริงไม่เป็น (countably infinite)
วิธีการแนวทแยง ไม่ได้เป็นการพิสูจน์การนับไม่ได้ของจำนวนจริงอันแรกของคันทอร์ แต่เป็นการพิสูจน์ที่เผยแพร่หลัง 3 ปีของการพิสูจน์อันแรก วิธีการพิสูจน์อันแรกของเขาไม่เกี่ยวข้องกับการกระจายทศนิยม หรือระบบตัวเลข
ตั้งแต่ที่มีการใช้วิธีพิสูจน์นี้ ได้มีการพิสูจน์ที่คล้ายๆกันอีกหลายแบบ ซึ่งเรียกว่าเป็นวิธีการแนวทแยง โดยดูจากวิธีที่ใช้ในการพิสูจน์
จำนวนจริง
การพิสูจน์ของคันทอร์ แสดงให้เห็นว่า ช่วง [0,1] ไม่เป็น อนันต์นับได้
มีขั้นตอนดังนี้
- สมมติว่าช่วง [0,1] เป็น
- เราจะแจงจำนวนทั้งหมดในช่วงนี้ด้วยลำดับ ( r1, r2, r3, ... )
- เรารู้ว่าจำนวนเหล่านี้สามารถเขียนในรูปได้
- เราจะเรียงจำนวนให้เป็นแถว ในกรณีที่การกระจายทศนิยมเป็น 0.499 ... = 0.500 ..., เราจะเลือกอันที่ลงท้ายด้วย 9. จากตัวอย่าง การกระจายทศนิยมที่เริ่มต้นของลำดับเป็นดังนี้
- : r1 = 0 . 5 1 0 5 1 1 0 ...
- : r2 = 0 . 4 1 3 2 0 4 3 ...
- : r3 = 0 . 8 2 4 5 0 2 6 ...
- : r4 = 0 . 2 3 3 0 1 2 6 ...
- : r5 = 0 . 4 1 0 7 2 4 6 ...
- : r6 = 0 . 9 9 3 7 8 3 8 ...
- : r7 = 0 . 0 1 0 5 1 3 5 ...
- : ...
- เราจะสร้างจำนวนจริง x ซึ่งอยู่ใน [0,1] โดยการพิจารณา เลขหลักที่ k หลังจุดทศนิยมของการกระจายทศนิยมของ rk ซึ่งเราจะขีดเส้นใต้และทำตัวหนาเอาไว้ การพิสูจน์นี้จึงมีชื่อเรียกว่า การพิสูจน์แนวทแยง
- : r1 = 0 . 5 1 0 5 1 1 0 ...
- : r2 = 0 . 4 1 3 2 0 4 3 ...
- : r3 = 0 . 8 2 4 5 0 2 6 ...
- : r4 = 0 . 2 3 3 0 1 2 6 ...
- : r5 = 0 . 4 1 0 7 2 4 6 ...
- : r6 = 0 . 9 9 3 7 8 3 8 ...
- : r7 = 0 . 0 1 0 5 1 3 5 ...
- : ...
- จากทศนิยมเหล่านี้ เราจะนิยามทศนิยมของ x ดังนี้
- ถ้าเลขหลักที่ k ของ rk เป็น 5 แล้ว เลขหลักที่ k ของ x เป็น 4
- ถ้าเลขหลักที่ k ของ rk ไม่เป็น 5 แล้ว เลขหลักที่ k ของ x เป็น 5
- ดังนั้น x จึงเป็นจำนวนจริง (เพราะว่าการกระจายทศนิยมอยู่ในรูปจำนวนจริง) ที่อยู่ในช่วง [0,1]. จากตัวอย่างข้างบน เราจะได้การกระจายทศนิยมดังนี้
- : x = 0 . 4 5 5 5 5 5 4 ...
- เรารู้ว่าจะต้องมี n ที่ทำให้ rn = x เพราะว่าเรากำหนดให้ ( r1, r2, r3, ... ) แจงจำนวนจริงทั้งหมดในช่วง [0,1]
- แต่ว่าการเลือกเลข 4 และเลข 5 ของ x ในข้อ (6) จะทำให้ x จะแตกต่างในหลักที่ n ของ rn ดังนั้น x ไม่อยู่ในลำดับ ( r1, r2, r3, ... )
- ดังนั้น ลำดับนี้ไม่ได้เป็นการแจงจำนวนจริงทั้งหมดในช่วง [0,1] เกิดข้อขัดแย้ง
- ดังนั้น สมมติฐาน (1) ที่ว่าช่วง [0,1] เป็นอนันต์นับได้ จึงเป็นเท็จ
บทพิสูจน์นี้แสดงให้เห็นว่าเซต R ของจำนวนจริงทั้งหมดนั้นนับไม่ได้. ถ้า R นับได้แล้ว เราจะแจงจำนวนจริงทั้งหมดให้อยู่ในลำดับนี้ได้ และทำให้เป็นลำดับ [0,1] โดยการลบจำนวนจริงที่อยู่นอกช่วงนี้ออกไป แต่เราเห็นแล้วว่าไม่สามารถทำได้. นอกจากนี้ เราจะแสดงให้เห็นว่า [0,1] และ R มีขนาดเท่ากันโดยการสร้างฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึงระหว่างกัน ซึ่งอาจจะไม่สะดวกสำหรับการทำในช่วง [0,1]; สำหรับช่วงเปิด (0,1) เราจะให้ โดยนิยามว่า .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karxangehtuphlaenwthaeyngkhxngkhnthxr xngkvs Cantor s diagonal argument epnwithikhxngekxxrkh khnthxr thiaesdngihehnwa canwncringimepn countably infinite withikaraenwthaeyng imidepnkarphisucnkarnbimidkhxngcanwncringxnaerkkhxngkhnthxr aetepnkarphisucnthiephyaephrhlng 3 pikhxngkarphisucnxnaerk withikarphisucnxnaerkkhxngekhaimekiywkhxngkbkarkracaythsniym hruxrabbtwelkh tngaetthimikarichwithiphisucnni idmikarphisucnthikhlayknxikhlayaebb sungeriykwaepnwithikaraenwthaeyng odyducakwithithiichinkarphisucncanwncringkarphisucnkhxngkhnthxr aesdngihehnwa chwng 0 1 imepn xnntnbid mikhntxndngni smmtiwachwng 0 1 epn eracaaecngcanwnthnghmdinchwngnidwyladb r1 r2 r3 eraruwacanwnehlanisamarthekhiyninrupid eracaeriyngcanwnihepnaethw inkrnithikarkracaythsniymepn 0 499 0 500 eracaeluxkxnthilngthaydwy 9 caktwxyang karkracaythsniymthierimtnkhxngladbepndngni r1 0 5 1 0 5 1 1 0 r2 0 4 1 3 2 0 4 3 r3 0 8 2 4 5 0 2 6 r4 0 2 3 3 0 1 2 6 r5 0 4 1 0 7 2 4 6 r6 0 9 9 3 7 8 3 8 r7 0 0 1 0 5 1 3 5 eracasrangcanwncring x sungxyuin 0 1 odykarphicarna elkhhlkthi k hlngcudthsniymkhxngkarkracaythsniymkhxng rk sungeracakhidesnitaelathatwhnaexaiw karphisucnnicungmichuxeriykwa karphisucnaenwthaeyng r1 0 5 1 0 5 1 1 0 r2 0 4 1 3 2 0 4 3 r3 0 8 2 4 5 0 2 6 r4 0 2 3 3 0 1 2 6 r5 0 4 1 0 7 2 4 6 r6 0 9 9 3 7 8 3 8 r7 0 0 1 0 5 1 3 5 cakthsniymehlani eracaniyamthsniymkhxng x dngni thaelkhhlkthi k khxng rk epn 5 aelw elkhhlkthi k khxng x epn 4 thaelkhhlkthi k khxng rk imepn 5 aelw elkhhlkthi k khxng x epn 5 dngnn x cungepncanwncring ephraawakarkracaythsniymxyuinrupcanwncring thixyuinchwng 0 1 caktwxyangkhangbn eracaidkarkracaythsniymdngni x 0 4 5 5 5 5 5 4 eraruwacatxngmi n thithaih rn x ephraawaerakahndih r1 r2 r3 aecngcanwncringthnghmdinchwng 0 1 aetwakareluxkelkh 4 aelaelkh 5 khxng x inkhx 6 cathaih x caaetktanginhlkthi n khxng rn dngnn x imxyuinladb r1 r2 r3 dngnn ladbniimidepnkaraecngcanwncringthnghmdinchwng 0 1 ekidkhxkhdaeyng dngnn smmtithan 1 thiwachwng 0 1 epnxnntnbid cungepnethc bthphisucnniaesdngihehnwaest R khxngcanwncringthnghmdnnnbimid tha R nbidaelw eracaaecngcanwncringthnghmdihxyuinladbniid aelathaihepnladb 0 1 odykarlbcanwncringthixyunxkchwngnixxkip aeteraehnaelwwaimsamarththaid nxkcakni eracaaesdngihehnwa 0 1 aela R mikhnadethaknodykarsrangfngkchnhnungtxhnungthwthungrahwangkn sungxaccaimsadwksahrbkarthainchwng 0 1 sahrbchwngepid 0 1 eracaih f 0 1 R displaystyle f colon 0 1 rightarrow mathbb R odyniyamwa f x tan p x 12 displaystyle f x tan left pi left x frac 1 2 right right bthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk