การพูดติดอ่าง (อังกฤษ: stuttering หรือ stammering) เป็นที่กระแสคำพูดสะดุดเพราะพูดซ้ำ (repetition) และลาก (prolongation) เสียง พยางค์ คำหรือวลีให้ยาวโดยมิได้ตั้งใจ เช่นเดียวกับการหยุดเงียบ (silent pause) หรือการติดขัด (block) ซึ่งบุคคลที่พูดติดอ่างไม่สามารถเปล่งเสียงออกมาได้ โดยมิได้ตั้งใจ คำว่า "การพูดติดอ่าง" เกี่ยวข้องกับการพูดซ้ำโดยมิได้ตั้งใจมากที่สุด แต่ยังรวมถึงการลังเล (hesitation) ผิดปกติหรือหยุดก่อนพูด และการลากเสียงบางอย่าง ซึ่งปกติเป็นสระและ ให้ยาวผิดปกติ สำหรับหลายคนที่พูดติดอ่าง การพูดซ้ำเป็นปัญหาหลัก การติดขัดและการลากเสียงยาวโดยมิได้ตั้งใจเป็นกลไกที่เกิดจากการเรียนรู้เพื่อซ่อนการพูดซ้ำ เพราะความกลัวการพูดซ้ำในที่สาธารณะมักเป็นสาเหตุหลักของความไม่สบายใจทางจิตวิทยา คำว่า "การพูดติดอ่าง" หมายความถึงความรุนแรงหลายระดับ มีตั้งแต่อุปสรรคที่สังเกตได้เพียงเล็กน้อยไปจนถึงอาการรุนแรงจนไม่สามารถสื่อสารทางปากได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การพูดติดอ่าง Stuttering, Stammering | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | F98.5 |
ICD- | 307.0 |
184450 609261 | |
001427 | |
MeSH | D013342 |
ผลกระทบของการพูดติดอ่างต่อการทำหน้าที่และสถานะอารมณ์ของบุคคลอาจรุนแรงได้ ซึ่งอาจรวมถึงความกลัวที่จะต้องออกเสียงสระหรือพยัญชนะบางตัว ความกลัวว่าจะถูกจับได้ว่าพูดติดอ่างในสถานการณ์ทางสังคม การแยกตัวด้วยตนเอง วิตกกังวล เครียด อับอายหรือรู้สึก "เสียการควบคุม" ระหว่างการพูด การพูดติดอ่างบางครั้งหลายคนเข้าใจว่าเกี่ยวข้องกับความวิตกกังวล แต่แท้จริงแล้วหามีความสัมพันธ์กันไม่ การพูดติดอ่างมิได้สะท้อนแต่อย่างใด
การพูดติดอ่างโดยทั่วไปไม่เป็นปัญหากับการผลิตเสียงพูดทางกายภาพ หรือการเรียบเรียงความคิดเป็นคำพูด ความประหม่าและความเครียดเรื้อรังอาจกระตุ้นให้เกิดการพูดติดอ่างในบุคคลที่มีใจโน้มเอียง และการอยู่ด้วยความพิการที่ถูกตีตรา (stigmatized disability) อย่างสูงสามารถทำให้เกิดความวิตกกังวลและการรับรู้หรือเผชิญปัญหาความเครียด (allostatic stress load) สูง คือ อาการประสาทและความเครียดเรื้อรัง ที่ลดปริมาณความเครียดเฉียบพลันที่กระตุ้นให้เกิดการพูดติดอ่างในบุคคลที่พูดติดอ่าง ทำให้ปัญหาในรูประบบผลป้อนกลับทางบวกเลวลง มีการเสนอให้ใช้คำว่า "อาการพูดติดอ่าง" (Stuttered Speech Syndrome) กับสภาวะนี้ อย่างไรก็ดี ความเครียด ทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง ไม่ได้สร้างความโน้มเอียงรับโรคการพูดติดอ่างแต่อย่างใด
ความผิดปกตินี้แปรผัน หมายความว่า ในสถานการณ์หนึ่ง ๆ เช่น ขณะพูดทางโทรศัพท์ การพูดติดอ่างอาจรุนแรงหรือเป็นน้อยกว่าเดิมก็ได้ ขึ้นอยู่กับระดับความวิตกกังวลที่เชื่อมโยงกับกิจกรรมนั้น แม้จะยังไม่ทราบแน่ชัดหรือสาเหตุของการพูดติดอ่าง แต่คาดว่าทั้งพันธุศาสตร์และจะมีผล มีเทคนิคการรักษาและจำนวนมากซึ่งอาจช่วยเพิ่มความคล่องในบางคนที่พูดติดอ่างถึงขั้นที่หูที่ไม่ผ่านการฝึกไม่สามารถระบุปัญหาได้ อย่างไรก็ดี ปัจจุบันยังไม่มีทางรักษาความผิดปกติถึงแก่น
อ้างอิง
- World Health Organization ICD-10 F95.8 - Stuttering.
- Myths about stuttering, on 's website.
- http://www.stutteredspeechsyndrome.com
- Irwin, M (2006). Au-Yeung, J; Leahy, MM (บ.ก.). Terminology – How Should Stuttering be Defined? and Why? Research, Treatment, and Self-Help in Fluency Disorders: New Horizons. The International Fluency Association. pp. 41–45. ISBN .
{{}}
: ตรวจสอบค่า|url=
((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karphudtidxang xngkvs stuttering hrux stammering epnthikraaeskhaphudsadudephraaphudsa repetition aelalak prolongation esiyng phyangkh khahruxwliihyawodymiidtngic echnediywkbkarhyudengiyb silent pause hruxkartidkhd block sungbukhkhlthiphudtidxangimsamartheplngesiyngxxkmaid odymiidtngic khawa karphudtidxang ekiywkhxngkbkarphudsaodymiidtngicmakthisud aetyngrwmthungkarlngel hesitation phidpktihruxhyudkxnphud aelakarlakesiyngbangxyang sungpktiepnsraaela ihyawphidpkti sahrbhlaykhnthiphudtidxang karphudsaepnpyhahlk kartidkhdaelakarlakesiyngyawodymiidtngicepnklikthiekidcakkareriynruephuxsxnkarphudsa ephraakhwamklwkarphudsainthisatharnamkepnsaehtuhlkkhxngkhwamimsbayicthangcitwithya khawa karphudtidxang hmaykhwamthungkhwamrunaernghlayradb mitngaetxupsrrkhthisngektidephiyngelknxyipcnthungxakarrunaerngcnimsamarthsuxsarthangpakidxyangmiprasiththiphaphkarphudtidxang Stuttering StammeringbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F98 5ICD 307 0184450 609261001427MeSHD013342 phlkrathbkhxngkarphudtidxangtxkarthahnathiaelasthanaxarmnkhxngbukhkhlxacrunaerngid sungxacrwmthungkhwamklwthicatxngxxkesiyngsrahruxphyychnabangtw khwamklwwacathukcbidwaphudtidxanginsthankarnthangsngkhm karaeyktwdwytnexng witkkngwl ekhriyd xbxayhruxrusuk esiykarkhwbkhum rahwangkarphud karphudtidxangbangkhrnghlaykhnekhaicwaekiywkhxngkbkhwamwitkkngwl aetaethcringaelwhamikhwamsmphnthknim karphudtidxangmiidsathxnaetxyangid karphudtidxangodythwipimepnpyhakbkarphlitesiyngphudthangkayphaph hruxkareriyberiyngkhwamkhidepnkhaphud khwamprahmaaelakhwamekhriyderuxrngxackratunihekidkarphudtidxanginbukhkhlthimiiconmexiyng aelakarxyudwykhwamphikarthithuktitra stigmatized disability xyangsungsamarththaihekidkhwamwitkkngwlaelakarrbruhruxephchiypyhakhwamekhriyd allostatic stress load sung khux xakarprasathaelakhwamekhriyderuxrng thildprimankhwamekhriydechiybphlnthikratunihekidkarphudtidxanginbukhkhlthiphudtidxang thaihpyhainruprabbphlpxnklbthangbwkelwlng mikaresnxihichkhawa xakarphudtidxang Stuttered Speech Syndrome kbsphawani xyangirkdi khwamekhriyd thngechiybphlnaelaeruxrng imidsrangkhwamonmexiyngrborkhkarphudtidxangaetxyangid khwamphidpktiniaeprphn hmaykhwamwa insthankarnhnung echn khnaphudthangothrsphth karphudtidxangxacrunaernghruxepnnxykwaedimkid khunxyukbradbkhwamwitkkngwlthiechuxmoyngkbkickrrmnn aemcayngimthrabaenchdhruxsaehtukhxngkarphudtidxang aetkhadwathngphnthusastraelacamiphl miethkhnikhkarrksaaelacanwnmaksungxacchwyephimkhwamkhlxnginbangkhnthiphudtidxangthungkhnthihuthiimphankarfukimsamarthrabupyhaid xyangirkdi pccubnyngimmithangrksakhwamphidpktithungaeknxangxingWorld Health Organization ICD 10 F95 8 Stuttering Myths about stuttering on s website http www stutteredspeechsyndrome com Irwin M 2006 Au Yeung J Leahy MM b k Terminology How Should Stuttering be Defined and Why Research Treatment and Self Help in Fluency Disorders New Horizons The International Fluency Association pp 41 45 ISBN 978 0 9555700 1 8 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a trwcsxbkha url help