การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม หรือ การเลี้ยงไหม เป็นการเกษตรที่ผสมระหว่างการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ การปลูกต้นหม่อน สำหรับใช้เลี้ยงตัวไหม (โดยเฉพาะชนิด Bombyx mori) เพื่อจะนำตัวไหมมา และได้เส้นใยเรียกว่าเส้นไหม นั่นเอง
ประวัติการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมกล่าวไว้ในคัมภีร์ขงจื้อ ว่า มีการสาวไหมจาก หนอนไหม B. mori ตั้งแต่ราว 2,700 ปีก่อนคริสตกาล แต่หลักฐานทางโบราณคดีบ่งชี้ว่าการเลี้ยงไหมนั้น เก่าแก่สุดในราวยุคหย่างเสา ( 仰韶文化, ยุคหินใหม่ ราว 5,000 - 10,000 ปีก่อนคริสตกาล). ต่อมาได้นำไหมไปยังยุโรป เมดิเตอเรเนียน และประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย การปลูกหม่อนเลี้ยงไหมกลายเป็นที่สำคัญในหลายประเทศ เช่น จีน, เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น, อินเดีย, บราซิล, รัสเซีย, อิตาลี และฝรั่งเศส ปัจจุบันนี้จีนและญี่ปุ่นเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ โดยมีปริมาณการผลิตต่อปีรวมกันมากกว่า 50% ของการผลิตทั่วโลก
อ้างอิง
- Patricia Buckley Ebrey. 2005. China: A Cultural, Social and Political History. Wadsworth Publishing. P.7. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karplukhmxneliyngihm hrux kareliyngihm epnkarekstrthiphsmrahwangkarplukphuchaelaeliyngstw idaek karpluktnhmxn sahrbicheliyngtwihm odyechphaachnid Bombyx mori ephuxcanatwihmma aelaidesniyeriykwaesnihm nnexng prawtikarplukhmxneliyngihmklawiwinkhmphirkhngcux wa mikarsawihmcak hnxnihm B mori tngaetraw 2 700 pikxnkhristkal aethlkthanthangobrankhdibngchiwakareliyngihmnn ekaaeksudinrawyukhhyangesa 仰韶文化 yukhhinihm raw 5 000 10 000 pikxnkhristkal txmaidnaihmipyngyuorp emdietxereniyn aelapraethsxun inthwipexechiy karplukhmxneliyngihmklayepnthisakhyinhlaypraeths echn cin ekahliit yipun xinediy brasil rsesiy xitali aelafrngess pccubnnicinaelayipunepnphuphlitrayihy odymiprimankarphlittxpirwmknmakkwa 50 khxngkarphlitthwolkxangxingPatricia Buckley Ebrey 2005 China A Cultural Social and Political History Wadsworth Publishing P 7 ISBN 0 618 13387 9 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk