การปลูกพืชหมุนเวียน (อังกฤษ: Crop rotation หรือ Crop sequencing) เป็นระบบการเกษตรกรรมที่ใช้การปลูกพืชหลายชนิดที่ต่างชนิดกันในบริเวณเดียวกันตามลำดับของฤดูเพื่อให้ได้ประโยชน์หลายอย่างเช่นเพื่อเลี่ยงการสร้างสมของ (Pathogens) หรือ ศัตรูพืช (Pest) ที่มักจะเกิดขึ้นถ้าปลูกพืชชนิดเดียวต่อเนื่องกัน นอกจากนั้นก็เพื่อสร้างความสมดุลของสารอาหารเนื้อดินที่ไม่ถูกดูดออกไปจากการปลูกพืชชนิดเดียวเป็นเวลานาน การปลูกพืชหมุนเวียนที่ทำกันมามักจะเป็นการปลูกพืชที่ช่วยสร้างเสริมไนโตรเจนโดยการใช้ (green manure) พร้อมกับการ ปลูกธัญพืชและพืชชนิดอื่น ซึ่งเป็นองค์ประกอบของ (Polyculture) (ที่ตรงกันข้ามกับ (Monoculture) นอกจากนั้นการปลูกพืชหมุนเวียนก็ยังเป็นการปรับปรุง (soil structure) และ (soil fertility) โดยการสลับเปลี่ยนระหว่างการปลูกพืชรากลึกกับพืชรากตื้น
ระบบการปลูกพืชหมุนเวียนเป็นระบบที่ใช้กันมานานตั้งแต่สมัยโบราณเช่นในสมัยโรมันที่ใช้ระบบเกษตรกรรมสองแปลงที่เกษตรกรจะปลูกพืชในแปลงหนึ่งและไถอีกแปลงหนึ่งว่างไว้สำหรับการเพาะปลูกในปีต่อไป หรือเมื่อมาถึงยุคกลางยุคกลางที่วิวัฒนาการเป็นระบบเกษตรกรรมสามแปลงที่ใช้กันต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
อ้างอิง
- Carroll, C., Halpin, M., Burger, P., Bell, K., Sallaway, M.M., and Yule, D.F. “The effect of crop type, crop rotation, and tillage practice on runoff and soil loss on a Vertisol in central Queensland.” Australian Journal of Soil Research. Vol. 35. pg. 925-939. 1997.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- Cyclopedia of American Agriculture ed. by L. H. Bailey (1911), Vol. II--Crops, Chapter V "Crop Management," primarily the history and theory of crop rotation.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karplukphuchhmunewiyn xngkvs Crop rotation hrux Crop sequencing epnrabbkarekstrkrrmthiichkarplukphuchhlaychnidthitangchnidkninbriewnediywkntamladbkhxngvduephuxihidpraoychnhlayxyangechnephuxeliyngkarsrangsmkhxng Pathogens hrux struphuch Pest thimkcaekidkhunthaplukphuchchnidediywtxenuxngkn nxkcaknnkephuxsrangkhwamsmdulkhxngsarxaharenuxdinthiimthukdudxxkipcakkarplukphuchchnidediywepnewlanan karplukphuchhmunewiynthithaknmamkcaepnkarplukphuchthichwysrangesriminotrecnodykarich green manure phrxmkbkar plukthyphuchaelaphuchchnidxun sungepnxngkhprakxbkhxng Polyculture thitrngknkhamkb Monoculture nxkcaknnkarplukphuchhmunewiynkyngepnkarprbprung soil structure aela soil fertility odykarslbepliynrahwangkarplukphuchraklukkbphuchraktunphaphcakdawethiymthiaesdngaeplngphuchklminekhantiaehsekhlinaekhnssinplayeduxn mithunayn kh s 2001 phuchthiaekhngaerngepnsiekhiyw khawophdthimilatnepnibkcaetibotepntn khawfangthimilksnakhlaykhawophdotchakwachannkyngelkkwasungxaccaepnsiekhiywxxn khawsaliepnsithxngthiekbekiywknineduxnmithunayn thungsinatalepnbriewnthiephingesrccakkarekbekiywaelaiththingiwsahrbplukphuchphlinpitxip rabbkarplukphuchhmunewiynepnrabbthiichknmanantngaetsmyobranechninsmyormnthiichrabbekstrkrrmsxngaeplngthiekstrkrcaplukphuchinaeplnghnungaelaithxikaeplnghnungwangiwsahrbkarephaaplukinpitxip hruxemuxmathungyukhklangyukhklangthiwiwthnakarepnrabbekstrkrrmsamaeplngthiichkntxmacnthungkhriststwrrsthi 20xangxingCarroll C Halpin M Burger P Bell K Sallaway M M and Yule D F The effect of crop type crop rotation and tillage practice on runoff and soil loss on a Vertisol in central Queensland Australian Journal of Soil Research Vol 35 pg 925 939 1997 duephimekstrkrrmaehlngkhxmulxunCyclopedia of American Agriculture ed by L H Bailey 1911 Vol II Crops Chapter V Crop Management primarily the history and theory of crop rotation bthkhwamphichniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk