การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ (อังกฤษ: Reliability-centered maintenance, RCM) เป็นกระบวนการที่กำหนดว่าต้องทำอะไรบ้างจึงจะมั่นใจได้ว่าสินทรัพย์ (อุปกรณ์ หรือ ระบบ หรือ เครื่องจักร หรือ ยุทโธปกรณ์) จะสามารถทำงานภายใต้สภาวะแวดล้อมหรือบริบทที่ใช้งานในปัจจุบัน ถ้าหากทำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้อย่างถูกต้องแล้วจะทำให้สามารถยกระดับความเชื่อถือได้ของสินทรัพย์ รวมทั้งความพร้อมใช้และที่สำคัญค่าใช้จ่ายในงานบำรุงรักษาจะมีประสิทธิภาพสูง นอกจากนี้ยังสามารถช่วยให้องค์กรมีความเข้าใจถึงความเสี่ยงจากการใช้งานสินทรัพย์และสามารถช่วยให้องค์กรสามารถกำหนดกลยุทธ์ที่จะนำมาใช้เพื่อที่จะจัดการกับความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บริบท
การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ช่วยให้องค์กรสามารถประสบความสำเร็จในการกำหนดแผนงานบำรุงรักษาที่น้อยที่สุดแต่มีความปลอดภัยสูงในการใช้งานสินทรัพย์ ซึ่งเป็นคำที่ มร. จอห์น มัวเบรย์ ได้กล่าวไว้ในหนังสือของเขาซึ่งสอดคล้องกับคำกล่าวของ มร. สแตนเลย์ โนวแลน และ มร. โฮเวิร์ด ฮีพ จากสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ มาตรฐาน SAE JA1011 เกณฑ์การประเมินกระบวนการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้กำหนดเกณฑ์การประเมินขั้นต่ำสุดที่ใช้ในการประเมินว่ากระบวนการใดสามารถเรียกว่าการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ ซึ่งจะประกอบไปด้วยคำถามหลักเจ็ดข้อด้วยกันดังต่อไปนี้
- หน้าที่และมาตรฐานสมรรถนะของสินทรัพย์ภายใต้สภาวะแวดล้อมการใช้งานปัจจุบันมีอะไรบ้าง?
- การที่ไม่สามารถทำตามหน้าที่นั้นจะเป็นไปอย่างไรได้บ้าง?
- อะไรคือสาเหตุที่จะทำให้เกิดการล้มเหลวของหน้าที่?
- จะมีเกิดอะไรขึ้นบ้างเมื่อความเสียหายได้ปรากฏขึ้นมา?
- ความเสียหายที่เกิดขึ้นมานั้นมีความสำคัญอย่างไรบ้าง?
- จะสามารถทำอะไรได้บ้างเพื่อที่จะพยากรณ์หรือป้องกันความเสียหายไม่ให้เกิดขึ้นมา?
- ควรจะทำอะไรถ้าหากการพยากรณ์หรือการป้องกันความเสียหายไม่มีความเหมาะสม?
การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้เป็นกรอบการทำงานทางวิศวกรรมที่จะนำมาใช้ช่วยในการกำหนดแผนการบำรุงรักษาสินทรัพย์ที่มีประสิทธิภาพ โดยที่การบำรุงรักษาจะเริ่มจากการกำหนดหน้าที่ของสินทรัพย์ตามความต้องการของผู้ใช้งานสินทรัพย์ภายใต้สภาวะแวดล้อมในการใช้งาน กระบวนการที่สองจะเป็นการกำหนดการล้มเหลวของหน้าที่ กระบวนการที่สามจะกำหนดรูปแบบความเสียหาย กระบวนการที่สี่จะเป็นการกำหนดผลของความเสียหาย ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการที่หนึ่งถึงกระบวนการที่สี่จะถูกบันทึกไว้ในตารางข้อมูลการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ กระบวนการที่ห้าจะเป็นการประเมินผลพวงความเสียหายที่เกิดขึ้น กระบวนการที่หกจะเป็นการกำหนดการทำงานเชิงรุก กระบวนการที่เจ็ดซึ่งเป็นกระบวนการสุดท้ายจะเป็นการกำหนดการทำงานเพิกเฉย ในกระบวนการที่ห้าถึงกระบวนการสุดท้ายจะมีการใช้แผนผังการตัดสินใจการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ โดยข้อมูลที่ได้จากกระบวนการที่ห้าถึงกระบวนการสุดท้ายจะถูกบันทึกไว้ในตารางการตัดสินใจการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ หลังจากนั้นจะเป็นขั้นตอนการรวบรวมกลุ่มงานที่ทำเพียงครั้งเดียวและงานบำรุงรักษา ขั้นตอนสุดท้ายจะเป็นการนำแผนงานที่ได้ไปปฏิบัติ ควรจัดให้มีการทบทวนการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ตามระยะเวลาที่เหมาะสมกับองค์กรเพื่อยกระดับความสมบูรณ์ของกระบวนการการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้
ประวัติ
คำว่า "การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้" ได้เกิดขึ้นครั้งแรกในปีพ.ศ. 2521 จากการเผยแพร่หนังสือ การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ โดย สายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ซึ่งกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาเป็นผู้อุปถัมภ์ในการเขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้นมา หนังสือเล่มนี้เขียนโดย มร. สแตนเลย์ โนวแลน และ มร. โฮเวิร์ด ฮีพ หนังสือเล่มนี้ได้อธิบายถึงกระบวนการปรับปรุงความเชื่อถือได้ของเครื่องบินโบอิ้ง 747 โดยสายการบินพาณิชย์
ในยุคแรกของเครื่องบินโดยสารแบบเจ็ทได้ประสบปัญหาอัตราการตกที่สูงมาทำให้องค์การบริหารการบินของสหรัฐหรือที่เรียกชื่อย่อว่า FAA และสายการบินมีความพยายามและหาวิธีการที่จะจัดการปัญหาเหล่านี้ ตอนต้นปี พ.ศ. 2500 FAA และสายการบินได้ทำการศึกษาและวิจัยทางวิศวกรรมสำหรับการเสียหายของเครื่องบิน จากการศึกษาวิจัยพบว่าความเชื่อของนักออกแบบ และผู้บำรุงรักษา มีความเชื่อว่า"ทุกชิ้นส่วนของเครื่องบินมีอายุการใช้งาน" ทำให้แผนการบำรุงรักษาเครื่องบินในยุคนั้นได้กำหนดเวลาในการโอเวอร์ฮอลหรือเปลี่ยนชิ้นส่วนของเครื่องบินเกือบทั้งหมด แต่ผลที่ได้จากการศึกษาวิจัยกลับพบว่า "ความเสียหายของเครื่องบินเกือบทั้งหมดนั้นไม่มีความเกี่ยวข้องกับอายุ" หลังจากนั้นได้มีการจัดตั้งคณะทำงานขึ้นมาเพื่อกำหนดแผนการบำรุงรักษาเครื่องบินจนกระทั่งประสบความสำเร็จด้วยหลักการของการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ ทำให้สามารถลดอัตราการตกของเครื่องบินได้ถึง 20 เท่า การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ได้ยกระดับความคิดในการบำรุงรักษาสินทรัพย์ดังต่อไปนี้
- แบบฉบับการเสียหายมีอยู่ 6 แบบด้วยกันซึ่งแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกมีสามแบบฉบับการเสียหายซึ่งความเสียหายจะมีความสัมพันธ์กับอายุจะมีประมาณ 10% กลุ่มที่สองมีสามแบบฉบับการเสียหายที่ความเสียหายไม่มีความสัมพันธ์กับอายุหรือเป็นแบบสุ่มจะมีประมาณ 90%
- การบำรุงรักษาเชิงป้องกันไม่ใช่เทคนิคที่ถูกต้องที่จะนำมาใช้จัดการความเสียหายของสินทรัพย์เพราะว่าการเสียหายเกือบทั้งหมดไม่มีความสัมพันธ์กับอายุ
- การบำรุงรักษาควรให้ความสำคัญกับผลพวงความเสียหายมากกว่าการดูแลทางกายภาพของสินทรัพย์
- ทำให้เรามีความเข้าใจถึงพื้นฐานเทคนิคงานบำรุงรักษาว่ามีสี่เทคนิคด้วยกันดังนี้ งานแก้ไข งานป้องกัน งานตามสภาพ และงานค้นหาความเสียหาย โดยที่แต่ละเทคนิคมีความสำคัญและมีความเหมาะสมที่จะจัดการความเสียหายบางรูปแบบ ซึ่งการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ให้เกณฑ์การพิจารณาในการเลือกแต่ละเทคนิค
- การบำรุงรักษาเพียงลำพังไม่สามารถยกระดับความเชื่อถือได้ของสินทรัพย์ ดังนั้นการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ให้เกณฑ์การพิจารณากลยุทธ์อื่นที่อยู่นอกเหนือการบำรุงรักษาอีก เช่น การออกแบบทางกายภาพใหม่ การเพิ่มความรู้ให้กับผู้ใช้และผู้ทำการบำรุงรักษาสินทรัพย์ การพัฒนาเอกสารมาตรฐานวิธีการใช้งานและการบำรุงรักษาสินทรัพย์
แต่อย่างไรก็ตามมีผู้ให้บริการบางรายได้คิดหาวิธีการรวบรัดในการทำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้แต่ไม่ได้คำนึงถึงประสิทธิภาพและผลลัพธ์ที่ได้จากการนำไปใช้ การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้แบบรวบรัด (streamlined reliability centered maintenance) โดยส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินของ SAE JA1011 ดังนั้นกระบวนการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้แบบรวบรัดไม่ใช่กระบวนการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้แต่อย่างใด
การนำมาใช้
หลังจากที่อุตสาหกรรมมการบินพาณิชย์ประสบความสำเร็จในการลดอัตราการตกของเครื่องบินจากการทำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ ก็ได้นำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้มาใช้ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบเครื่องบินรุ่นใหม่จนถึงทุกวันนี้ทำให้เราสามารถเดินทางด้วยเครื่องบินโดยสารได้อย่างปลอดภัย
ความมั่นคงและทางทหาร
ประมาณ พ.ศ. 2520 กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาได้นำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ไปใช้กับกองทัพเรือ กองทัพบกและกองทัพอากาศ ในปี พ.ศ. 2542 กองทัพประเทศอังกฤษได้นำมาตรฐานการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้มาใช้ในการบำรุงรักษายุทโธปกรณ์ของประเทศอังกฤษ ทำให้ประหยัดงบประมาณได้อย่างมากมายและยังช่วยเพิ่มความถือได้และเพิ่มความพร้อมใช้งานอีกด้วย แต่ประเทศไทยยังไม่มีมาตรฐานการบำรุงรักษาสำหรับยุทโธปกรณ์ของกองทัพ (กองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ)
- อุบัติเหตุทางอากาศยานของกองทัพไทย ระหว่างปี 2550-2565 เกิดขึ้นทั้งหมด 67 ครั้ง สูญเสียชีวิต 69 คน บาดเจ็บ 64 คน สูญเสียเครื่องบินรบ F16 เป็นจำนวน 5 ลำ เครื่องบินรบกริพเพน 1 ลำ เฮลิคอปเตอร์หลายลำ และอื่นๆอีก
- เหตุการณ์เรือรบหลวงสุโขทัยอับปางกลางอ่าวไทย ธันวาคม 2565 ทำให้กำลังพลสูญเสียชีวิต 24 คน และสูญหายอีก 5 คน
ภาคอุตสาหกรรม
ประมาณ พ.ศ. 2525 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ก็นำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ไปใช้ หลังนั้นอุตสาหกรรมการผลิตและบริการก็ได้นำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ไปใช้เหมือนกัน เช่น โรงไฟฟ้า โรงเหล็ก โรงกลั่นน้ำมัน โรงงานเคมี โรงงานกระดาษ เหมืองแร่ โรงประปา รถไฟ รถไฟฟ้าใต้ดิน ทำให้การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ได้รับความนิยมอย่างมากมาย
การจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต
ประมาณปี 2535 หน่วยงานบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupational Safety and Health Administration : OSHA)ได้ออกกฎหมาย "การจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต" (Process Safety Management: PSM) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการควบคุมความปลอดภัยและป้องกันการเกิดเหตุร้ายแรงจากโรงงานที่มีสารเคมีอันตรายร้ายแรง (ระเบิด ไฟไหม้ แก๊สพิษรั่ว) การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้เป็นมาตรฐานการบำรุงรักษาที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในการนำมาใช้เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์นี้ อย่างไรก็ตามโรงงานที่มีสารเคมีอันตรายร้ายแรงในประเทศไทยยังไม่ได้นำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้มาใช้
- ธันวาคม 2542 บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) เหตุการณ์เพลิงไหม้บริเวณคลังน้ำมัน มีผู้เสียชีวิต 7 คน และบาดเจ็บ 5 คน
- พฤษภาคม 2555 บริษัท บีเอสที อิลาสโตเมอร์ส จำกัด เหตุการณ์ถังบรรจุก๊าซระเบิด มีผู้เสียชีวิต 12 ราย และบาดเจ็บ 141 ราย
- กรกฎาคม 2556 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เหตุการณ์น้ำมันดิบ 50,000 ลิตร รั่วไหลจากท่อส่งกลางทะเล
- ตุลาคม 2563 บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) เหตุการณ์ท่อก๊าซธรรมชาติรั่ว ไฟไหม้และระเบิด มีผู้เสียชีวิต 3 ราย มีผู้บาดเจ็บ 66 ราย
- มกราคม 2565 บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (มหาชน) เหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วไหลจำนวน 50,000 ลิตร จากท่อใต้ทะเลของทุ่นรับน้ำมันดิบกลางทะเล
ประโยชน์
ถ้าหากทำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ถูกต้องตามมาตรฐานSAE JA1011แล้ว องค์กรที่อยู่ในอุตสาหกรรมการผลิตหรือบริการ หรือ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานราชการ หรือ หน่วยงานความมั่นคงก็จะได้รับประโยชน์จากการทำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ดังนี้
- สามารถใช้งานสินทรัพย์ได้อย่างปลอดภัย
- ไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรือปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากการใช้สินทรัพย์
- ประหยัดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาสินทรัพย์
- ส่งเสริมการได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์กร
- สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจให้สำเร็จลุล่วง
- เพิ่มพูนความรู้ให้กับพนักงานและเป็นที่เก็บองค์ความรู้ไว้ในองค์กร
- ส่งเสริมการทำงานร่วมกันในองค์กร
อ้างอิง
- Nowlan F. Stanley and Howard F. Heap, Reliability-Centered Maintenance, United States Department of Defense Report Number AD-A066579, 1978 2013-08-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- SAE JA1011, Evaluation Criteria for Reliability-Centered Maintenance (RCM) Processes, 1 Aug 1998
- SAE JA1012, A Guide to the Reliability-Centered Maintenance (RCM) Standard, 1 Jan 2002
- John Moubray, Reliability-Centered Maintenance, Industrial Press, New York, 1997,
- MSG-3, Maintenance Program Development Document, Air Transport Association, Washington D.C., Revision 2, 1993.
- National Aeronautics and Space Administration, RCM Guide Reliability-Centered Maintenance Guide for Facilities and Collateral Equipment, 2000. 2017-01-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สุภนิติ แสงธรรม, การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ (Reliability Centered Maintenance), RCM THAI, เอ็มแอนด์อี, 2560,
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karbarungrksaennkhwamechuxthuxid xngkvs Reliability centered maintenance RCM epnkrabwnkarthikahndwatxngthaxairbangcungcamnicidwasinthrphy xupkrn hrux rabb hrux ekhruxngckr hrux yuthothpkrn casamarththanganphayitsphawaaewdlxmhruxbribththiichnganinpccubn thahakthakarbarungrksaennkhwamechuxthuxidxyangthuktxngaelwcathaihsamarthykradbkhwamechuxthuxidkhxngsinthrphy rwmthngkhwamphrxmichaelathisakhykhaichcayinnganbarungrksacamiprasiththiphaphsung nxkcakniyngsamarthchwyihxngkhkrmikhwamekhaicthungkhwamesiyngcakkarichngansinthrphyaelasamarthchwyihxngkhkrsamarthkahndklyuthththicanamaichephuxthicacdkarkbkhwamesiyngidxyangmiprasiththiphaphbribthkarbarungrksaennkhwamechuxthuxidchwyihxngkhkrsamarthprasbkhwamsaercinkarkahndaephnnganbarungrksathinxythisudaetmikhwamplxdphysunginkarichngansinthrphy sungepnkhathi mr cxhn mwebry idklawiwinhnngsuxkhxngekhasungsxdkhlxngkbkhaklawkhxng mr saetnely onwaeln aela mr ohewird hiph caksaykarbinyuinetdaexriln matrthan SAE JA1011 eknthkarpraeminkrabwnkarbarungrksaennkhwamechuxthuxidkahndeknthkarpraeminkhntasudthiichinkarpraeminwakrabwnkaridsamartheriykwakarbarungrksaennkhwamechuxthuxid sungcaprakxbipdwykhathamhlkecdkhxdwykndngtxipni hnathiaelamatrthansmrrthnakhxngsinthrphyphayitsphawaaewdlxmkarichnganpccubnmixairbang karthiimsamarththatamhnathinncaepnipxyangiridbang xairkhuxsaehtuthicathaihekidkarlmehlwkhxnghnathi camiekidxairkhunbangemuxkhwamesiyhayidpraktkhunma khwamesiyhaythiekidkhunmannmikhwamsakhyxyangirbang casamarththaxairidbangephuxthicaphyakrnhruxpxngknkhwamesiyhayimihekidkhunma khwrcathaxairthahakkarphyakrnhruxkarpxngknkhwamesiyhayimmikhwamehmaasm karbarungrksaennkhwamechuxthuxidepnkrxbkarthanganthangwiswkrrmthicanamaichchwyinkarkahndaephnkarbarungrksasinthrphythimiprasiththiphaph odythikarbarungrksacaerimcakkarkahndhnathikhxngsinthrphytamkhwamtxngkarkhxngphuichngansinthrphyphayitsphawaaewdlxminkarichngan krabwnkarthisxngcaepnkarkahndkarlmehlwkhxnghnathi krabwnkarthisamcakahndrupaebbkhwamesiyhay krabwnkarthisicaepnkarkahndphlkhxngkhwamesiyhay khxmulthiidcakkrabwnkarthihnungthungkrabwnkarthisicathukbnthukiwintarangkhxmulkarbarungrksaennkhwamechuxthuxid krabwnkarthihacaepnkarpraeminphlphwngkhwamesiyhaythiekidkhun krabwnkarthihkcaepnkarkahndkarthanganechingruk krabwnkarthiecdsungepnkrabwnkarsudthaycaepnkarkahndkarthanganephikechy inkrabwnkarthihathungkrabwnkarsudthaycamikarichaephnphngkartdsinickarbarungrksaennkhwamechuxthuxid odykhxmulthiidcakkrabwnkarthihathungkrabwnkarsudthaycathukbnthukiwintarangkartdsinickarbarungrksaennkhwamechuxthuxid hlngcaknncaepnkhntxnkarrwbrwmklumnganthithaephiyngkhrngediywaelanganbarungrksa khntxnsudthaycaepnkarnaaephnnganthiidipptibti khwrcdihmikarthbthwnkarbarungrksaennkhwamechuxthuxidtamrayaewlathiehmaasmkbxngkhkrephuxykradbkhwamsmburnkhxngkrabwnkarkarbarungrksaennkhwamechuxthuxidprawtikhawa karbarungrksaennkhwamechuxthuxid idekidkhunkhrngaerkinpiph s 2521 cakkarephyaephrhnngsux karbarungrksaennkhwamechuxthuxid ody saykarbinyuinetdaexriln sungkrathrwngklaohmkhxngshrthxemrikaepnphuxupthmphinkarekhiynhnngsuxelmnikhunma hnngsuxelmniekhiynody mr saetnely onwaeln aela mr ohewird hiph hnngsuxelmniidxthibaythungkrabwnkarprbprungkhwamechuxthuxidkhxngekhruxngbinobxing 747 odysaykarbinphanichy inyukhaerkkhxngekhruxngbinodysaraebbecthidprasbpyhaxtrakartkthisungmathaihxngkhkarbriharkarbinkhxngshrthhruxthieriykchuxyxwa FAA aelasaykarbinmikhwamphyayamaelahawithikarthicacdkarpyhaehlani txntnpi ph s 2500 FAA aelasaykarbinidthakarsuksaaelawicythangwiswkrrmsahrbkaresiyhaykhxngekhruxngbin cakkarsuksawicyphbwakhwamechuxkhxngnkxxkaebb aelaphubarungrksa mikhwamechuxwa thukchinswnkhxngekhruxngbinmixayukarichngan thaihaephnkarbarungrksaekhruxngbininyukhnnidkahndewlainkaroxewxrhxlhruxepliynchinswnkhxngekhruxngbinekuxbthnghmd aetphlthiidcakkarsuksawicyklbphbwa khwamesiyhaykhxngekhruxngbinekuxbthnghmdnnimmikhwamekiywkhxngkbxayu hlngcaknnidmikarcdtngkhnathangankhunmaephuxkahndaephnkarbarungrksaekhruxngbincnkrathngprasbkhwamsaercdwyhlkkarkhxngkarbarungrksaennkhwamechuxthuxid thaihsamarthldxtrakartkkhxngekhruxngbinidthung 20 etha karbarungrksaennkhwamechuxthuxididykradbkhwamkhidinkarbarungrksasinthrphydngtxipni aebbchbbkaresiyhaymixyu 6 aebbdwyknsungaebngxxkepnsxngklum klumaerkmisamaebbchbbkaresiyhaysungkhwamesiyhaycamikhwamsmphnthkbxayucamipraman 10 klumthisxngmisamaebbchbbkaresiyhaythikhwamesiyhayimmikhwamsmphnthkbxayuhruxepnaebbsumcamipraman 90 karbarungrksaechingpxngknimichethkhnikhthithuktxngthicanamaichcdkarkhwamesiyhaykhxngsinthrphyephraawakaresiyhayekuxbthnghmdimmikhwamsmphnthkbxayu karbarungrksakhwrihkhwamsakhykbphlphwngkhwamesiyhaymakkwakarduaelthangkayphaphkhxngsinthrphy thaiheramikhwamekhaicthungphunthanethkhnikhnganbarungrksawamisiethkhnikhdwykndngni nganaekikh nganpxngkn ngantamsphaph aelangankhnhakhwamesiyhay odythiaetlaethkhnikhmikhwamsakhyaelamikhwamehmaasmthicacdkarkhwamesiyhaybangrupaebb sungkarbarungrksaennkhwamechuxthuxidiheknthkarphicarnainkareluxkaetlaethkhnikh karbarungrksaephiynglaphngimsamarthykradbkhwamechuxthuxidkhxngsinthrphy dngnnkarbarungrksaennkhwamechuxthuxidiheknthkarphicarnaklyuththxunthixyunxkehnuxkarbarungrksaxik echn karxxkaebbthangkayphaphihm karephimkhwamruihkbphuichaelaphuthakarbarungrksasinthrphy karphthnaexksarmatrthanwithikarichnganaelakarbarungrksasinthrphy aetxyangirktammiphuihbrikarbangrayidkhidhawithikarrwbrdinkarthakarbarungrksaennkhwamechuxthuxidaetimidkhanungthungprasiththiphaphaelaphllphththiidcakkarnaipich karbarungrksaennkhwamechuxthuxidaebbrwbrd streamlined reliability centered maintenance odyswnihyimphaneknthkarpraeminkhxng SAE JA1011 dngnnkrabwnkarbarungrksaennkhwamechuxthuxidaebbrwbrdimichkrabwnkarbarungrksaennkhwamechuxthuxidaetxyangidkarnamaichhlngcakthixutsahkrrmmkarbinphanichyprasbkhwamsaercinkarldxtrakartkkhxngekhruxngbincakkarthakarbarungrksaennkhwamechuxthuxid kidnakarbarungrksaennkhwamechuxthuxidmaichtngaetkhntxnkarxxkaebbekhruxngbinrunihmcnthungthukwnnithaiherasamarthedinthangdwyekhruxngbinodysaridxyangplxdphy khwammnkhngaelathangthhar praman ph s 2520 krathrwngklaohmkhxngshrthxemrikaidnakarbarungrksaennkhwamechuxthuxidipichkbkxngthpherux kxngthphbkaelakxngthphxakas inpi ph s 2542 kxngthphpraethsxngkvsidnamatrthankarbarungrksaennkhwamechuxthuxidmaichinkarbarungrksayuthothpkrnkhxngpraethsxngkvs thaihprahydngbpramanidxyangmakmayaelayngchwyephimkhwamthuxidaelaephimkhwamphrxmichnganxikdwy aetpraethsithyyngimmimatrthankarbarungrksasahrbyuthothpkrnkhxngkxngthph kxngthphbk kxngthphxakas kxngthpheruxaelasankngantarwcaehngchati xubtiehtuthangxakasyankhxngkxngthphithy rahwangpi 2550 2565 ekidkhunthnghmd 67 khrng suyesiychiwit 69 khn badecb 64 khn suyesiyekhruxngbinrb F16 epncanwn 5 la ekhruxngbinrbkriphephn 1 la ehlikhxpetxrhlayla aelaxunxikehtukarneruxrbhlwngsuokhthyxbpangklangxawithy thnwakhm 2565 thaihkalngphlsuyesiychiwit 24 khn aelasuyhayxik 5 khnphakhxutsahkrrm praman ph s 2525 orngiffaniwekhliyrknakarbarungrksaennkhwamechuxthuxidipich hlngnnxutsahkrrmkarphlitaelabrikarkidnakarbarungrksaennkhwamechuxthuxidipichehmuxnkn echn orngiffa orngehlk orngklnnamn orngnganekhmi orngngankradas ehmuxngaer orngprapa rthif rthiffaitdin thaihkarbarungrksaennkhwamechuxthuxididrbkhwamniymxyangmakmay karcdkarkhwamplxdphykrabwnkarphlit pramanpi 2535 hnwynganbriharkhwamplxdphyaelaxachiwxnamykhxngpraethsshrthxemrika Occupational Safety and Health Administration OSHA idxxkkdhmay karcdkarkhwamplxdphykrabwnkarphlit Process Safety Management PSM odymiwtthuprasngkhephuxichinkarkhwbkhumkhwamplxdphyaelapxngknkarekidehturayaerngcakorngnganthimisarekhmixntrayrayaerng raebid ifihm aeksphisrw karbarungrksaennkhwamechuxthuxidepnmatrthankarbarungrksathiidrbkaryxmrbxyangkwangkhwanginkarnamaichephuxbrrluwtthuprasngkhni xyangirktamorngnganthimisarekhmixntrayrayaernginpraethsithyyngimidnakarbarungrksaennkhwamechuxthuxidmaich thnwakhm 2542 bristh ithyxxyl cakd mhachn ehtukarnephlingihmbriewnkhlngnamn miphuesiychiwit 7 khn aelabadecb 5 khnphvsphakhm 2555 bristh biexsthi xilasotemxrs cakd ehtukarnthngbrrcukasraebid miphuesiychiwit 12 ray aelabadecb 141 raykrkdakhm 2556 bristh phithithi oklbxl ekhmikhxl cakd mhachn ehtukarnnamndib 50 000 litr rwihlcakthxsngklangthaeltulakhm 2563 bristh ptth cakd mhachn ehtukarnthxkasthrrmchatirw ifihmaelaraebid miphuesiychiwit 3 ray miphubadecb 66 raymkrakhm 2565 bristh star piotreliym riifnning cakd mhachn ehtukarnnamndibrwihlcanwn 50 000 litr cakthxitthaelkhxngthunrbnamndibklangthaelpraoychnthahakthakarbarungrksaennkhwamechuxthuxidthuktxngtammatrthanSAE JA1011aelw xngkhkrthixyuinxutsahkrrmkarphlithruxbrikar hrux hnwynganrthwisahkic hrux hnwynganrachkar hrux hnwyngankhwammnkhngkcaidrbpraoychncakkarthakarbarungrksaennkhwamechuxthuxiddngni samarthichngansinthrphyidxyangplxdphy imkxihekidxntrayhruxpyhadansingaewdlxmcakkarichsinthrphy prahydkhaichcayinkarbarungrksasinthrphy sngesrimkaridepriybinkaraekhngkhnihkbxngkhkr snbsnunkarptibtipharkicihsaerclulwng ephimphunkhwamruihkbphnknganaelaepnthiekbxngkhkhwamruiwinxngkhkr sngesrimkarthanganrwmkninxngkhkrxangxingNowlan F Stanley and Howard F Heap Reliability Centered Maintenance United States Department of Defense Report Number AD A066579 1978 2013 08 01 thi ewyaebkaemchchin SAE JA1011 Evaluation Criteria for Reliability Centered Maintenance RCM Processes 1 Aug 1998 SAE JA1012 A Guide to the Reliability Centered Maintenance RCM Standard 1 Jan 2002 John Moubray Reliability Centered Maintenance Industrial Press New York 1997 ISBN 978 0831131463 MSG 3 Maintenance Program Development Document Air Transport Association Washington D C Revision 2 1993 National Aeronautics and Space Administration RCM Guide Reliability Centered Maintenance Guide for Facilities and Collateral Equipment 2000 2017 01 28 thi ewyaebkaemchchin suphniti aesngthrrm karbarungrksaennkhwamechuxthuxid Reliability Centered Maintenance RCM THAI exmaexndxi 2560 ISBN 978 974 686 131 1