การนำสารเข้าสู่เซลล์แบบใช้ตัวรับ (อังกฤษ: Receptor-mediated endocytosis;RME) หรือการนำสารเข้าสู่เซลล์โดยใช้ (clathrin-dependent endocytosis) เป็นการนำสารเข้าสู่เซลล์โดยสารที่จะเข้าสู่เซลล์นั้นต้องจับกับตัวรับที่จำเพาะบนเยื่อหุ้มเซลล์ก่อน จากนั้นตัวรับที่จับสารแล้วจะเว้าเข้าไปในเซลล์แล้วหลุดเป็นกระเปาะหรือเวสิเคิลขนาดเล็กเข้าไปข้างในเซลล์ สารที่เข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีนี้ได้แก่ ฮอร์โมน สารพิษ แอนติบอดี ไวรัส เป็นต้น
หลังจากที่สารจับกับตัวรับที่จำเพาะบนเยื่อหุ้มเซลล์ จะมีการส่งสัญญาณผ่านทางเยื่อหุ้มเซลล์ มีแคลทรินเข้ามาจับกับเยื่อหุ้มเซลล์ด้านในของตัวรับ ทำให้เกิดการม้วนของเยื่อหุ้มกลายเป็นเวสิเคิล จากนั้นแคลทรินจะหลุดออก เวสิเคิลแต่ละอันที่ไม่ถูกแคลทรินหุ้มจะรวมเข้าด้วยกันกลายเป็นเอนโดโซม เนื่องจากตัวรับเป็นการทำงานภายในร่วมกับมือจับ ระบบนี้จึงอิ่มตัวได้และการนำเข้าเซลล์จะลดลงจนกว่าตัวรับจะถูกนำกลับมาใช้ใหม่ที่เยื่อหุ้มอีกครั้ง
แหล่งข้อมูลอื่น
- CytoChemistry.net 2005-12-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน- A lecture on RME with some nice pictures
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karnasarekhasuesllaebbichtwrb xngkvs Receptor mediated endocytosis RME hruxkarnasarekhasuesllodyich clathrin dependent endocytosis epnkarnasarekhasuesllodysarthicaekhasuesllnntxngcbkbtwrbthicaephaabneyuxhumesllkxn caknntwrbthicbsaraelwcaewaekhaipinesllaelwhludepnkraepaahruxewsiekhilkhnadelkekhaipkhanginesll sarthiekhasueslldwywithiniidaek hxromn sarphis aexntibxdi iwrs epntnklikkarnasarekhasuesllodyichaekhlthrin hlngcakthisarcbkbtwrbthicaephaabneyuxhumesll camikarsngsyyanphanthangeyuxhumesll miaekhlthrinekhamacbkbeyuxhumeslldaninkhxngtwrb thaihekidkarmwnkhxngeyuxhumklayepnewsiekhil caknnaekhlthrincahludxxk ewsiekhilaetlaxnthiimthukaekhlthrinhumcarwmekhadwyknklayepnexnodosm enuxngcaktwrbepnkarthanganphayinrwmkbmuxcb rabbnicungximtwidaelakarnaekhaesllcaldlngcnkwatwrbcathuknaklbmaichihmthieyuxhumxikkhrngaehlngkhxmulxunCytoChemistry net 2005 12 21 thi ewyaebkaemchchin A lecture on RME with some nice pictures