ในจิตวิทยาหรือจิตเวชศาสตร์ การกุเหตุความจำเสื่อม (อังกฤษ: confabulation มากจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า "การเล่าเรื่อง") เป็นความปั่นป่วนของความจำที่ปรากฏโดยคำพูดหรือการกระทำที่ไม่ตรงกับประวัติ ภูมิหลัง หรือสถานการณ์ในปัจจุบัน โดยที่ไม่ได้มีเจตนาที่จะหลอกลวง การกุเหตุความจำเสื่อมต่างจากการโกหกเพราะไม่มีเจตนาที่จะหลอกลวง และบุคคลนั้นไม่รู้ว่า ข้อมูลของตนนั้นไม่ตรงกับความจริง แม้ว่า บุคคลนั้นอาจจะแสดงเนื้อความที่ปรากฏอย่างโต้ง ๆ ว่าไม่จริง แต่ว่า เรื่องที่กุขึ้นบางครั้งอาจจะเชื่อมโยงกัน สอดคล้องกัน และไม่มีอะไรแปลก บุคคลที่กุความขึ้นอาจจะมีความจำที่ไม่ถูกต้อง "เริ่มตั้งแต่เป็นความเพี้ยนไปเพียงเล็กน้อย จนถึงเป็นเรื่องกุที่แปลกประหลาด" และมักจะมั่นใจถึงความจำของตน แม้ว่าจะมีหลักฐานที่ขัดแยังกัน เหตุที่ปรากฏของการกุโดยมากมาจากความเสียหายในสมองหรือภาวะสมองเสื่อม เช่นที่เกิดจากโรคพิษสุรา (alcoholism) จากหลอดเลือดโป่งพอง หรือจากโรคอัลไซเมอร์
รูปแบบ
การกุเหตุความจำเสื่อมโดยทั่วไปมีสองแบบคือ แบบเกิดขึ้นเอง (spontaneous) หรือแบบมีการชักนำ (provoked)
การกุเหตุความจำเสื่อมแบบเกิดขึ้นเอง (อังกฤษ: spontaneous confabulation) หรือ การกุเหตุความจำเสื่อมปฐมภูมิ (อังกฤษ: primary confabulation) ไม่ได้เกิดขึ้นตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น และปรากฏเหมือนกับไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจ การกุแบบเกิดขึ้นเองค่อนข้างจะมีน้อย และอาจเป็นผลจากการทำงานร่วมกันของพยาธิในสมองกลีบหน้าและภาวะเสียความจำแบบ dissociative และเกิดขึ้นบ่อยในคนไข้ภาวะสมองเสื่อม
ส่วน การกุเหตุความจำเสื่อมแบบมีการชักนำ (อังกฤษ: provoked confabulation) หรือ การกุเหตุความจำเสื่อมแบบชั่วขณะ (อังกฤษ: momentary confabulation) หรือ การกุเหตุความจำเสื่อมทุติยภูมิ (อังกฤษ: secondary confabulation) เป็นเรื่องสามัญสำหรับคนไข้มีความจำเสื่อม และเกิดขึ้นบ่อย ๆ ทั้งในภาวะเสียความจำและทั้งในภาวะสมองเสื่อม การกุแบบมีการชักนำจะปรากฏชัดเจนด้วยการทดสอบความจำ
การจำแนกการกุเหตุความจำเสื่อมอีกอย่างหนึ่งก็คือแยกเป็นทางวจีกรรม (verbal) และทางกายกรรม (behavioral) การกุทางวจีกรรมเป็นการกล่าวคำโดยใช้ความจำที่ผิดพลาด และเกิดขึ้นบ่อยกว่า ในขณะที่การกุทางกายกรรมเกิดขึ้นเมื่อบุคคลนั้นกระทำการโดยใช้ความจำที่ผิดพลาดนั้น
ลักษณะ
ความจำที่นำไปสู่การกุมักจะอยู่ในส่วนของระบบความจำเกี่ยวกับอัตชีวประวัติ (autobiographical memory) ซึ่งชี้ให้เห็นถึงกระบวนการที่ซับซ้อนและละเอียดอ่อนที่สามารถเกิดความผิดพลาดขึ้นในช่วงเข้ารหัส (encoding) ช่วงบันทึก (storage) และช่วงระลึกถึง (recall) ความจำอย่างใดอย่างหนึ่ง ช่วงใดช่วงหนึ่งก็ได้ การกุเหตุความจำเสื่อมแบบนี้พบได้บ่อยในคนไข้ที่มี Korsakoff's syndrome
อาการที่เป็นลักษณะเฉพาะ
การกุเหตุความจำเสื่อมมีลักษณะเฉพาะหลายอย่าง
- ทั่วไปมักเกิดทางคำพูด แต่เกิดขึ้นได้ด้วยทางการทำท่าทางที่แสดงความหมาย หรือทางการกระทำ
- สิ่งที่กุอาจจะเป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับอัตชีวประวัติและเกี่ยวกับข้อมูลที่ไม่เกี่ยวกับตนอื่น ๆ เช่นประวัติศาสตร์ นิทาน และที่เกี่ยวกับ semantic memory แบบอื่น ๆ
- เรื่องที่พูดถึงอาจจะแปลกประหลาดหรือคล้องจองกัน
- ประเด็นและรายละเอียดของเรื่องที่พูดอาจจะไม่เป็นความจริง
- เรื่องที่พูด มาจากความจำของคนไข้เกี่ยวกับประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ๆ รวมทั้งความคิดในอดีตและในปัจจุบัน
- คนไข้ไม่มีความสำนึกถึงความผิดปกติหรือความไม่สมควรของเรื่องที่พูด และไม่มีความสนใจหรือความวิตกกังวลถ้าบอกความผิดพลาดนั้นต่อคนไข้
- คนไข้ไม่มีจุดประสงค์ที่ซ่อนเร้นอะไร ๆ ในการเล่าเรื่องนั้น
- บุคลิกของคนไข้อาจจะมีอิทธิพลต่อความพร้อมที่จะกุเรื่อง
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑"
- Merriam-Webster Collegiate Dictionary, 11th Edition
- Fotopoulou, A., Conway, M. A., & Solms, M. (2007) . "Confabulation: Motivated reality monitoring". Neuropsychologia, 45 (10), 2180-2190.
- Moscovitch M. 1995. "Confabulation". In (Eds. Schacter D.L., Coyle J.T., Fischbach G.D., Mesulum M.M. & Sullivan L.G.), Memory Distortion (pp. 226–251) . Cambridge, MA: Harvard University Press.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-03. สืบค้นเมื่อ 2014-02-20.
- Nalbantian, edited by Suzanne (2010). The memory process : neuroscientific and humanistic perspectives. Cambridge, Mass.: MIT Press. ISBN .
{{}}
:|first=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - ICD-10 F10.2 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมที่เกิดจากการเสพสุรา (แบบติด)
- Metcalf, Kasey (1 February 2007). "Models of confabulation: A critical review and a new framework". Cognitive Neuropsychology. 24 (1): 23–47. doi:10.1080/02643290600694901.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - Gilboa, A. (13 April 2006). "Mechanisms of spontaneous confabulations: a strategic retrieval account". Brain. 129 (6): 1399–1414. doi:10.1093/brain/awl093.
- dissociative amnesia หรือ organic amnesia เป็นภาวะเสียความจำที่เกิดจากสภาวะทางจิต ไม่ใช่เกิดจากความเสียหายโดยตรงต่อสมองที่เกิดจากความบาดเจ็บที่ศีรษะ จากการบาดเจ็บที่กาย หรือจากโรค
- Kopelman, M.D. Two types of confabulation. J Neurol Neurosurg Psychiatry 1987a; 50: 1482–7.
- ICD-10 F10.6 กลุ่มอาการหลงลืมซึ่งเป็นความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมที่เกิดจากการเสพสุรา
- D. Kopelman, Michael. "The Korsakoff Syndrome: Clinical Aspects, Psychology and Treatment". oxford journals. 44 (2): 148–154. doi:10.1093/alcalc/agn118. PMID 19151162. สืบค้นเมื่อ 5 March 2012.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help))
แหล่งข้อมูลอื่น
- (2005), Brain Fiction: Self-deception and the riddle of confabulation, Cambridge, Massachusetts: MIT Press, ISBN , สืบค้นเมื่อ 21 March 2012
- (1985), (PDF), New York: Perennial Library, ISBN , คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-10-01, สืบค้นเมื่อ 21 March 2012
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
incitwithyahruxcitewchsastr karkuehtukhwamcaesuxm xngkvs confabulation makcakkhainphasalatinthiaeplwa karelaeruxng epnkhwampnpwnkhxngkhwamcathipraktodykhaphudhruxkarkrathathiimtrngkbprawti phumihlng hruxsthankarninpccubn odythiimidmiectnathicahlxklwng karkuehtukhwamcaesuxmtangcakkarokhkephraaimmiectnathicahlxklwng aelabukhkhlnnimruwa khxmulkhxngtnnnimtrngkbkhwamcring aemwa bukhkhlnnxaccaaesdngenuxkhwamthipraktxyangotng waimcring aetwa eruxngthikukhunbangkhrngxaccaechuxmoyngkn sxdkhlxngkn aelaimmixairaeplk bukhkhlthikukhwamkhunxaccamikhwamcathiimthuktxng erimtngaetepnkhwamephiynipephiyngelknxy cnthungepneruxngkuthiaeplkprahlad aelamkcamnicthungkhwamcakhxngtn aemwacamihlkthanthikhdaeyngkn ehtuthipraktkhxngkarkuodymakmacakkhwamesiyhayinsmxnghruxphawasmxngesuxm echnthiekidcakorkhphissura alcoholism cakhlxdeluxdopngphxng hruxcakorkhxlisemxrrupaebbkarkuehtukhwamcaesuxmodythwipmisxngaebbkhux aebbekidkhunexng spontaneous hruxaebbmikarchkna provoked karkuehtukhwamcaesuxmaebbekidkhunexng xngkvs spontaneous confabulation hrux karkuehtukhwamcaesuxmpthmphumi xngkvs primary confabulation imidekidkhuntxbsnxngtxsingkratun aelapraktehmuxnkbimidxyuitxanaccitic karkuaebbekidkhunexngkhxnkhangcaminxy aelaxacepnphlcakkarthanganrwmknkhxngphyathiinsmxngklibhnaaelaphawaesiykhwamcaaebb dissociative aelaekidkhunbxyinkhnikhphawasmxngesuxm swn karkuehtukhwamcaesuxmaebbmikarchkna xngkvs provoked confabulation hrux karkuehtukhwamcaesuxmaebbchwkhna xngkvs momentary confabulation hrux karkuehtukhwamcaesuxmthutiyphumi xngkvs secondary confabulation epneruxngsamysahrbkhnikhmikhwamcaesuxm aelaekidkhunbxy thnginphawaesiykhwamcaaelathnginphawasmxngesuxm karkuaebbmikarchknacapraktchdecndwykarthdsxbkhwamca karcaaenkkarkuehtukhwamcaesuxmxikxyanghnungkkhuxaeykepnthangwcikrrm verbal aelathangkaykrrm behavioral karkuthangwcikrrmepnkarklawkhaodyichkhwamcathiphidphlad aelaekidkhunbxykwa inkhnathikarkuthangkaykrrmekidkhunemuxbukhkhlnnkrathakarodyichkhwamcathiphidphladnnlksnakhwamcathinaipsukarkumkcaxyuinswnkhxngrabbkhwamcaekiywkbxtchiwprawti autobiographical memory sungchiihehnthungkrabwnkarthisbsxnaelalaexiydxxnthisamarthekidkhwamphidphladkhuninchwngekharhs encoding chwngbnthuk storage aelachwngralukthung recall khwamcaxyangidxyanghnung chwngidchwnghnungkid karkuehtukhwamcaesuxmaebbniphbidbxyinkhnikhthimi Korsakoff s syndromexakarthiepnlksnaechphaakarkuehtukhwamcaesuxmmilksnaechphaahlayxyang thwipmkekidthangkhaphud aetekidkhuniddwythangkarthathathangthiaesdngkhwamhmay hruxthangkarkratha singthikuxaccaepnkhxmulthiekiywkbxtchiwprawtiaelaekiywkbkhxmulthiimekiywkbtnxun echnprawtisastr nithan aelathiekiywkb semantic memory aebbxun eruxngthiphudthungxaccaaeplkprahladhruxkhlxngcxngkn praednaelaraylaexiydkhxngeruxngthiphudxaccaimepnkhwamcring eruxngthiphud macakkhwamcakhxngkhnikhekiywkbprasbkarnthiekidkhuncring rwmthngkhwamkhidinxditaelainpccubn khnikhimmikhwamsanukthungkhwamphidpktihruxkhwamimsmkhwrkhxngeruxngthiphud aelaimmikhwamsnichruxkhwamwitkkngwlthabxkkhwamphidphladnntxkhnikh khnikhimmicudprasngkhthisxnernxair inkarelaeruxngnn bukhlikkhxngkhnikhxaccamixiththiphltxkhwamphrxmthicakueruxngduephimphawaesiysanukkhwamphikarechingxrrthaelaxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 Merriam Webster Collegiate Dictionary 11th Edition Fotopoulou A Conway M A amp Solms M 2007 Confabulation Motivated reality monitoring Neuropsychologia 45 10 2180 2190 Moscovitch M 1995 Confabulation In Eds Schacter D L Coyle J T Fischbach G D Mesulum M M amp Sullivan L G Memory Distortion pp 226 251 Cambridge MA Harvard University Press khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 01 03 subkhnemux 2014 02 20 Nalbantian edited by Suzanne 2010 The memory process neuroscientific and humanistic perspectives Cambridge Mass MIT Press ISBN 978 0 262 01457 1 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a first michuxeriykthwip help imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help ICD 10 F10 2 khwamphidpktithangcitaelaphvtikrrmthiekidcakkaresphsura aebbtid Metcalf Kasey 1 February 2007 Models of confabulation A critical review and a new framework Cognitive Neuropsychology 24 1 23 47 doi 10 1080 02643290600694901 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help Gilboa A 13 April 2006 Mechanisms of spontaneous confabulations a strategic retrieval account Brain 129 6 1399 1414 doi 10 1093 brain awl093 dissociative amnesia hrux organic amnesia epnphawaesiykhwamcathiekidcaksphawathangcit imichekidcakkhwamesiyhayodytrngtxsmxngthiekidcakkhwambadecbthisirsa cakkarbadecbthikay hruxcakorkh Kopelman M D Two types of confabulation J Neurol Neurosurg Psychiatry 1987a 50 1482 7 ICD 10 F10 6 klumxakarhlnglumsungepnkhwamphidpktithangcitaelaphvtikrrmthiekidcakkaresphsura D Kopelman Michael The Korsakoff Syndrome Clinical Aspects Psychology and Treatment oxford journals 44 2 148 154 doi 10 1093 alcalc agn118 PMID 19151162 subkhnemux 5 March 2012 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help aehlngkhxmulxun 2005 Brain Fiction Self deception and the riddle of confabulation Cambridge Massachusetts MIT Press ISBN 0 262 08338 8 subkhnemux 21 March 2012 1985 PDF New York Perennial Library ISBN 0 06 097079 0 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 10 01 subkhnemux 21 March 2012bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk